Page 45 - หนังสือเรียนวิชาเศรษฐกิจพอเพียง ม.ปลาย
P. 45

40




                  เรืองที 4 การเลือกแนวทางการดําเนินชีวิตภายใตสถานการณของโลก/ประเทศโดยใชหลัก

                             ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง



                  “.............ผูใหญวิบูลย  เข็มเฉลิมเกษตรกรผูริเริ่มทําวนเกษตร ซึ่งยึดหลักเศรษฐกิจพอเพียง
                  จนสามารถยืนหยัดอยางเขมแข็มบนโลกทุนนิยมอยางสมภาคภูมิ....”



                  “ตัวอยางเศรษฐกิจพอเพียงที่ขาพเจารูจัก”



                         สังคมไทยในอดีตเปนสังคมแหงการพึ่งพิง อยูรวมกันเปนครอบครัวใหญ วิถีชีวิตผูกพัน

                  กับธรรมชาติ และดํารงชีพดวยภูมิปญญาที่สืบทอดกันมาหลายชั่วอายุคน เปนความลงตัว

                  ระหวางมนุษยและธรรมชาติที่ตางเอื้อประโยชนซึ่งกันและกัน ตั้งแตขาพเจาลืมตาขึ้นมาดูโลก

                  จนกระทั่งจําความ   ไดนั้น บานเกิดของขาพเจาเปนสังคมชนบทที่ใชชีวิตอยางเรียบงายและ

                  พึ่งพาอาศัยกัน วิถีชีวิตผูคน อิงอยูกับธรรมชาติบนรากฐานของเกษตรกรรม แตวันเวลาผานไป

                  ไดลบรองรอยของอดีตเหลานั้น   ใหเลือนหายไปจากความทรงจํา วิถีชีวิตแบบเดิม ๆ และ

                  ภูมิปญญาพื้นบานคอย ๆ ถูกกลืนไปดวยการไหลบาของวัฒนธรรมตะวันตกที่ครอบคลุมไป

                  ทุกภาคสวน ไมเวนแมแตสังคมชนบท สําหรับสังคมเมืองการเปลี่ยนแปลงยิ่งเห็นชัดเจน วิถีชีวิต

                  ของคนไทยเปลี่ยนแปลงไปชนิดหนามือเปนหลังมือ ระบบทุนนิยมเขามามีบทบาท กระแส

                  บริโภคนิยมที่ดําเนินไปในทิศทางที่ผิดพลาด คือ มีการบริโภคมากกวา การผลิต ทําใหคนไทยฟง

                  เฟอฟุมเฟอยและเสียดุลการคาตางชาติจํานวนมหาศาล และคนไทยก็ไดรับบทเรียนราคาแพง

                  เมื่อเศรษฐกิจที่เฟองฟูเขาสูยุคฟองสบูแตก วิกฤตการณทางเศรษฐกิจครั้งใหญเมื่อป พ.ศ. 2540

                  เปนจุดเปลี่ยนที่ทําใหคนไทย ตองหันมาทบทวนอดีตที่ผานมา และดํารงชีพอยางเขาใจชีวิตมาก
                  ขึ้น เศรษฐกิจพอเพียงจึงเปนแนวทางหนึ่งที่ไดรับความสนใจ ดวยความหวังที่จะรอดพนและ


                  ดํารงอยูอยางยั่งยืนภายใตกระแสโลกาภิวัตนและการเปลี่ยนแปลงตาง ๆ
   40   41   42   43   44   45   46   47   48   49   50