Page 46 - หนังสือเรียนวิชาเศรษฐกิจพอเพียง ม.ปลาย
P. 46
41
“เศรษฐกิจพอเพียงเปนเสมือนรากฐานของชีวิต
รากฐานความมั่นคงของแผนดิน เปรียบเสมือนเสาเข็ม
ที่ถูกตอกรองรับบานเรือนตัวอาคารไวมั่นเอง
สิ่งกอสรางจะมั่นคงอยูไดก็อยูที่เสาเข็ม
แตคนสวนมากมองไมเห็นเสาเข็ม
และลืมเสาเข็มเสียดวยซ้ําไป”
(พระราชดํารัสพระบาทสมเด็จพระเจาอยูหัว จากวารสารชัยพัฒนา)
เศรษฐกิจพอเพียง (Sufficiency Economy) ไมไดเปนเรื่องใหม แตเปนปรัชญาการ
ดําเนินชีวิตที่พระบาทสมเด็จพระเจาอยูหัวทรงมีพระราชดํารัส ชี้แนะแกพสกนิกรมาโดยตลอด
ตั้งแตกอนเกิดวกฤตการณทางเศรษฐกิจ เพียงแต ณ เวลานั้นหาคนเขาใจและเห็นความสําคัญ
ไดยากนัก โดย ครั้งแรกที่ไดยินคํานี้ จากสื่อตางๆ ขาพเจาเองก็ตีความคิดของตนเองวา คือ
วิถีชีวิตที่ทวนกลับไป ดํารงชีพอยางบรรพบุรุษในอดีตที่พึ่งพิงเฉพาะธรรมชาติเปนหลัก
เปนสังคมพออยูพอกินไมเนนการ ทําการคา ซึ่งตอมาเมื่อขาพเจาอายุมากขึ้น ทําใหทราบวา
ความเขาใจของตนนั้นยังคลาดเคลื่อนอยูมากทีเดียว
พระราชดํารัสพระบาทสมเด็จพระเจาอยูหัวเรื่องเศรษฐกิจพอเพียง ที่พระราชทานใน
วโรกาสตาง ๆ ซึ่งไดมีผูประมวลและกลั่นกรองเพื่อเผยแพร ตอสาธารณชนนั้น ไดใหความหมาย
ของความพอเพียงวา “ความพอประมาณ ความมีเหตุผล รวมทั้งความจําเปนที่จะตองมีระบบ
ภูมิคุมกัน ในตัวที่ดีพอสมควรตอการมีผลกระทบใดๆ อันเกิดจากการเปลี่ยนแปลงทั้งภายนอก
และภายใน ทั้งนี้ จะตองอาศัยความรู ความรอบคอบ และความระมัดระวังอยางยิ่ง ในการนํา
วิชาตาง ๆ มาใชในการวางแผน และดําเนินการทุกขั้นตอน ขณะเดียวกันจะตองเสริมสราง
พื้นฐานจิตใจของคนในชาติโดยเฉพาะเจาหนาที่ของรัฐ นักทฤษฎี และนักธุรกิจ ในทุกระดับใหมี
สํานึกในคุณธรรม ความซื่อสัตยสุจริต และใหมีความรอบรูที่เหมาะสม ดําเนินชีวิตดวยความ
อดทน ความเพียร มีสติ ปญญา และความรอบคอบ เพื่อใหสมดุลและพรอมตอการรองรับการ
เปลี่ยนแปลงอยางรวดเร็วและกวางขวาง ทั้งดานวัตถุ สังคม สิ่งแวดลอม และวัฒนธรรมจาก
โลกภายนอกไดเปนอยางดี”