Page 48 - หนังสือเรียนวิชาเศรษฐกิจพอเพียง ม.ปลาย
P. 48
43
แมไมมีเงินติดบานเลยก็อยูไดไมเดือดรอน ตอมาหันมาปลูกพืชที่ทนตอโรคและแมลง เพื่อลด
การใชสารเคมี พรอมๆ กับปลูกสะสมสมุนไพรอยางจริงจัง ขณะที่ขาพเจาเดินชมภายในวน
เกษตรของทาน พบพืชหลายชนิดปลูกคละกัน ไมไดเปนสัดสวน และไมไดจัดแถวใหเปน
ระเบียบ ทานบอกวาตองการใหเหมือนปาธรรมชาติมากที่สุด ที่ดิน 9 ไรเศษ มีพรรณไม
หลากหลาย ทานปลูกทั้งไมผลและไมยืนตน หลายชนิดแซมกันไป โดยวัตถุประสงคเพื่อเปน
อาหาร เปนไมใชสอย และบางชนิดปลูกเพื่อสรางสมดุลธรรมชาติ ทําใหตนไมเจริญเติบโตไดดี
และเปนการฟนฟูระบบนิเวศนในธรรมชาติดวย จุดเริ่มตนตรงนี้เองเปนที่มาของวนเกษตรศูนย
การเรียนรูภาคตะวันออกในปจจุบัน
หากเทียบเคียงหลักวนเกษตรของผูใหญวิบูลย จะเห็นไดวาเปนไปตามปรัชญาเศรษฐกิจ
พอเพียงของพระบาทสมเด็จพระเจาอยูหัว กลาวคือ
1. ทานมีกรอบแนวคิดและปรัชญาการดําเนินชีวิตที่ยึดหลักความพอดีและปฏิบัติ
ตนอยางเหมาะสม โดยใชวิถีชีวิตดั้งเดิมของบรรพบุรุษเปนพื้นฐาน ซึ่งไมไดหมายถึงการยอน
อดีตกลับไปมีวิถีชีวิตแบบคนยุคโบราณ แตความพิเศษอยูที่ทานสามารถประยุกตภูมิปญญา
ดั้งเดิมใหเขากับยุคสมัยไดอยางลงตัว ทานมองโลกเชิงระบบที่มีการเปลี่ยนแปลงอยูตลอดเวลา
และมุงเนนการประกอบอาชีพเพื่อรอดพนจากภัยและวิกฤตเพื่อใหเกิดความมั่นคงและยั่งยืนใน
การพัฒนา
2. แนวทางการทําวนเกษตรของทาน สามารถนํามาประยุกตใชในการปฏิบัติไดกับ
คนทุกระดับ ทุกสาขาอาชีพ ไมเฉพาะเกษตรกรเทานั้น เพราะแนวคิดของทานนั้นสอนใหคนเรา
เขาใจชีวิตมากขึ้น ไมตึงเครียดหรือหยอนยานกับชีวิตมากเกินไป เนนการปฏิบัติบนทาง
สายกลาง เพื่อใหเกิดการพัฒนาอยางเปนขั้นตอนมีเหตุมีผลตอทุกการกระทํา
3. ความพอเพียงตามหลักวนเกษตรของทานมี 3 คุณลักษณะ พรอม ๆ กัน ไดแก
ความพอประมาณ หรือความพอดี ตามวิถีชีวิตของผูใหญวิบูลย ความ
พอดี ไมไดหมายถึงการสมถะจนเกินไป แตคือการใชชีวิตอยางสบาย ๆ
ไมอัตคัด ไมเบียดเบียนตนเองและผูอื่น
ความมีเหตุผล ผูใหญวิบูลยบริหารจัดการเกี่ยวกับระดับความพอเพียง
อยางมีเหตุผล โดยพิจารณาจากเหตุผลและปจจัยที่เกี่ยวของ ตลอดจน
คํานึงถึงผลที่คาดวาจะเกิดขึ้นจากการกระทํานั้นอยางรอบคอบ เนื่องจาก
ชีวิตไดผานประสบการณ ทั้งในทางบวกและทางลบมากอน