Page 49 - หนังสือเรียนวิชาเศรษฐกิจพอเพียง ม.ปลาย
P. 49
44
การมีภูมิคุมกันที่ดีเตรียมตัวพรอมรับผลกระทบและการเปลี่ยนแปลง
ตาง ๆ ผูใหญวิบูลยเปนผูหนึ่งที่เรียนรูจากความผิดพลาดในอดีตของ
ตนเอง แลวเปลี่ยนวิธีคิดและวิถีชีวิตจนคนพบแนวทางที่ใชสําหรับตนเอง
แตทานก็ไมประมาทในการดําเนินชีวิต เพราะโลกยุคนี้หมุนเร็วยิ่งนัก
การจะยืนอยูไดอยางมั่นคงจงตองคํานึงถึง ความเปนไปไดของสถานการณ
ตาง ๆ ที่คาดวาจะเกิดขึ้นทั้งในปจจุบันและในอนาคตดวย
4. ผูใหญวิบูลยเปนผูใชความรูคูคุณธรรมเปนพื้นฐานการดําเนินชีวิต แมทานจะจบ
การศึกษาสามัญเพียงแคชั้น ป.4 แตเปนผูใฝที่จะเรียนรูเพิ่มเติม ทั้งในและนอกระบบการศึกษา
จึงมีความรอบรูทั้งดานวิชาการและประสบการณชีวิต สามารถเชื่อมโยงแนวคิด และความรู
อยางรอบคอบเพื่อประกอบการวางแผน และระมัดระวังในขั้นปฏิบัติ นอกจากนี้ ทานยังได
ขยายผลในรูปแบบเครือขายความสัมพันธกัลยาณมิตรไปทั่วประเทศ จนไดรับการยกยองเปน
“คนดีศรีสังคม” วนเกษตรของทานกลายเปนศูนยกลางการเรียนรูของบุคคลทั่วไป
5. แนวทางปฏิบัติของผูใหญวิบูลย เปนการพัฒนาที่สมดุลยั่งยืนพรอมรับการ
เปลี่ยนแปลงในทุกดาน ทั้งดานสังคม เศรษฐกิจ สิ่งแวดลอม และเทคโนโลยี ทานเปนผูสาธิตให
เห็นภูมิปญญาในการปรับตัวกับระบบเศรษฐกิจแบบทุนนิยม ทานกลาทําในสิ่งที่คนสวนใหญ
ยังไมเคยทํา แตเปนการกระทําที่สอดคลองกับพื้นฐานทางวัฒนธรรมแตเดิมของไทย
ทานเชื่อมั่นในอุดมการณวนเกษตรวา เปนทางออกที่เหมาะสม และมีคุณคานานาประการ
ทั้งตอตัวทานเองและสังคม หลักความพอเพียงในการดํารงชีวิต จึงเปนหลักสากลที่สามารถ
ประยุกตใชในการดําเนินชีวิตไดกับ คนทุกกลุม ไมใชเฉพาะเกษตรกร ตัวขาพเจาแมปจจุบัน
ไมไดประกอบอาชีพเกษตรกรรม และดําเนินชีวิตในเมืองใหญ อยางกรุงเทพมหานคร
ก็เชื่อมั่นวาหลักเศรษฐกิจพอเพียงตามแนวพระราชดํารัสของพระบาทสมเด็จพระเจาอยูหัวมี
ประโยชนกับตัวเองมาก เมื่อผนวกกับประสบการณที่ตนเองไดรับ จากการเปลี่ยนความคิดเห็น
กับผูมีประสบการณชีวิตหลาย ๆ ทาน ทําใหไดขอสรุปกับตนเองวา แมเราอยูในสังคมเมืองแตก็
สามารถมีวิถีชีวิตที่พอเพียงไดเชนเดียวกัน ซึ่งความพอเพียงของคนเรานั้นยอมแตกตางกัน
ออกไปแลวแตความตองการและวิถีชีวิตของแตละคน
อยางไรก็ตามเราตองมีชีวิตอยูอยางคนที่เตรียมพรอมและเขาใจชีวิต เศรษฐกิจพอเพียง
เปนเครื่องมือที่สรางสมดุลแหงชีวิตใหกับคนเราได สมดุลชีวิตจะทําใหคนเราประสบความสําเร็จ
ในชีวิตอยางแทจริง ซึ่งผูที่ขาพเจาใหความเคารพ นับถือทานหนึ่งไดใหแงคิดกับขาพเจาวา