Page 40 - หนังสือเรียนวิชาเศรษฐกิจพอเพียง ม.ปลาย
P. 40

35




                  เดินทางมาประเทศไทย  ในวาระมหามงคลฉลองสิริราชสมบัติครบ 60 ป  เขาเฝาพระบาท

                  สมเด็จพระเจาอยูหัววันที่ 26 พฤษภาคม 2549 เพื่อถวายรางวัล “UNDP  Human Develop
                  ment Lifetime Achievement Award”  (รางวัลความสําเร็จสูงสุดดานการพัฒนามนุษย)


                  ซึ่งเปนรางวัลประเภท Life-Long Achievement  และพระบาทสมเด็จพระเจาอยูหัวทรงเปน
                  พระมหากษัตริย พระองคแรกในโลกที่ไดรับรางวัลนี้

                         องคการสหประชาชาติไดยกยองพระบาทสมเด็จพระเจาอยูหัว เปน“พระมหากษัตริย

                  นักพัฒนา” และกลาวถึงปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง(SufficiencyEconomy)ของพระองควาเปน

                  ปรัชญาหรือทฤษฎีใหม ที่นานาประเทศรูจักและยกยองโดยที่องคการสหประชาชาติ

                  ไดสนับสนุนใหประเทศ  ตางๆที่เปนสมาชิกยึดเปนแนวทางสูการพัฒนาประเทศที่ยั่งยืน

                         ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง มิใชเปนเพียงปรัชญานามธรรมหากเปนแนวทางปฏิบัติ

                  ซึ่งสามารถจะชวยทั้งแกไขและปองกันปญหาที่เกิดจากกิเลสมนุษย และความเปลี่ยนแปลง

                  ที่ซับซอนรุนแรงขึ้นที่กําลังเกิดขึ้นกับมนุษยทั้งโลกและปญหาที่ลุกลามตอถึงธรรมชาติกอใหเกิด

                  ความเปลี่ยนแปลงใหญในเชิงรุนแรงและสรางปญหายอนกลับมาที่มนุษย

                         โดยทั่วไปมักเขาใจกันวาปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงเหมาะที่จะใชเฉพาะกับคนยากจน

                  คนระดับรากหญา และประเทศยากจน   อีกทั้งเครื่องมือเทคโนโลยีก็จะตองใชเฉพาะเครื่องมือ

                  ราคาถูกเทคโนโลยีต่ําการลงทุนไมควรจะมีการลงทุนระดับใหญ  แตในความเปนจริงปรัชญา

                  เศรษฐกิจพอเพียงก็ตองการคนและความคิดที่กาวหนาคนที่กลาคิดกลาทําในสิ่งใหมๆ



                         เนื่องจากการนําปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงไปใชประโยชนในดานตางๆ  ไมมีสูตรสําเร็จ

                  หรือ  คูมือการใชปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงสําหรับภารกิจ  ดังเชนวิกฤตโลกรอนผูเกี่ยวของจึง

                  ตองศึกษา  ทําความเขาใจแลวก็พัฒนาแนวทางหรือแนวปฏิบัติสําหรับแตละปญหาขึ้นมา
                  โดยยึดหลักที่สําคัญ   ดังเชน


                            - การคิดอยางเปนระบบอยางเปนกระบวนการทางวิทยาศาสตร
                            - หลักคิดที่ใช  ตองเปนหลักการปฏิบัติที่เปนสายกลางที่ใหความสําคัญของความ

                  สมดุลพอดีระหวางทุกสิ่งที่เกี่ยวของดังเชนระหวางธรรมชาติกับมนุษย

                            - ขอมูลที่ใช จะตองเปนขอมูลจริงที่เกิดจากการศึกษาการวิจัยหรือการลงสนามใหได

                  ขอมูลที่เปนจริง

                            - การสรางภูมิตานทานตอความเปลี่ยนแปลงที่จะเกิดขึ้น
   35   36   37   38   39   40   41   42   43   44   45