Page 94 - กฎหมายที่เกี่ยวข้องกับงานจราจร
P. 94
๘๗
º··Õè ô
¡Òúѧ¤ÑºãªŒ¡®ËÁÒÂà¾×èÍ¡ÒûÅÍ´ÀÑ·ҧ¶¹¹
ô.ñ ¤ÇÒÁࢌÒã¨àº×éÍ§μŒ¹à¡ÕèÂǡѺÍغÑμÔàËμØ·Ò§¶¹¹
การเสียชีวิตจากอุบัติเหตุทางถนน เปนสาเหตุหลักของการตายของประชากรไทย จากการ
ประเมินการแกปญหาอุบัติเหตุบนทองถนนของประเทศไทยซึ่งองคการอนามัยโลก (WHO) ไดจัดการ
ประเมิน พบวา การลดความเร็ว การลดการดื่มแลวขับ การใชหมวกนิรภัยกับรถจักรยานยนต การคาด
เข็มขัดนิรภัย ซึ่งเปนปญหาหลักที่ทําใหเกิดอุบัติเหตุทางถนน การประเมินการแกปญหาอุบัติเหตุ
บนทองถนนในประเทศไทยพบวาสอบตกทุกมาตรการ การดําเนินการลดปญหาอุบัติเหตุทางถนน
ในหลายประเทศแถบยุโรปที่ประสบความสําเร็จ เริ่มดวยใหความสําคัญกับการบังคับใชกฎหมาย
อยางจริงจัง เนื่องจากในอดีตเคยประสบปญหาการเสียชีวิตจากอุบัติเหตุ และการไมปฏิบัติตามกฎจราจร
อยางจริงจัง ขณะที่ตํารวจจราจรก็มีนอย อุปกรณมีจํากัด และไมไดถูกบริหารจัดการอยางมีประสิทธิภาพ
จนปจจุบันสามารถลดอัตราการเกิดอุบัติเหตุไดรอยละ ๕๐ หลักของการบังคับใชกฎหมายในยุโรป
โดยเริ่มจาก ๑) จํากัดความเร็ว ๒) คาดเข็มขัดนิรภัย ๓) การฝาฝนกฎจราจรเกี่ยวกับการใหทาง
๔) บังคับใชกฎหมายดื่มแลวขับ และ ๕) ตรวจวัดสมรรถนะความพรอมของผูขับขี่ โดยกฎหมาย
ไมไดมีเปาหมายเพื่อเพิ่มจํานวนใบสั่ง คนหา ผูกระทําผิด แตเพื่อปรับเปลี่ยนพฤติกรรมของผูขับขี่
ใหตระหนักถึงความปลอดภัยในการขับขี่และมีความรับผิดชอบตอสังคมรวมกัน (Thailand Road
Acident Research Center, ๒๐๐๕)
ñ. ÊÒàËμØ¡ÒÃà¡Ô´ÍغÑμÔÀѨҡ¡ÒèÃҨà เกิดจากสาเหตุ ๒ ประการ คือ
๑) ความบกพรองของคน หรือผูใชทาง ซึ่งทําใหเกิดอุบัติภัยถึงรอยละ ๘๕ โดยพบวา
๑.๑) ผูขับขี่ เปนสาเหตุของการเกิดอุบัติภัยที่สําคัญที่สุด และมีปญหาในการ
แกไขพฤติกรรมใหปลอดภัยไดยากมาก สาเหตุสวนใหญเกิดจากการไมปฏิบัติตามกฎจราจร ขับขี่
ดวยความประมาท ขาดความระมัดระวัง ขาดความชํานาญในการขับขี่ มีความผิดปกติทางดานรางกาย
และจิตใจ ขาดความรูในเรื่องกฎแหงความปลอดภัย เมาสุรา และเสพยาบา เปนตน
๑.๒) คนโดยสารและคนเดินเทา ไมปฏิบัติตามกฎจราจร ขาดความระมัดระวัง
ไมขามถนนตรงทางขาม หรือสะพานลอย ไมขามถนนเมื่อรถติดไฟแดง หอยโหนหรือยื่นสวนหนึ่ง
สวนใดของรางกายออกนอกตัวรถ
๒) สิ่งแวดลอมที่ไมปลอดภัย ซึ่งเปนสาเหตุการเกิดอุบัติภัย รอยละ ๑๕ สาเหตุจาก
สิ่งแวดลอมที่ไมปลอดภัย ไดแก สภาพของถนนชํารุดบกพรอง สภาพของถนนไมมีมาตรฐาน สภาพดินฟา
อากาศมีทัศนวิสัยไมดี กฎระเบียบของการจราจรที่ใชอยูไมชัดเจน และไมเหมาะสม
กับสภาพสังคมปจจุบัน