Page 96 - กฎหมายที่เกี่ยวข้องกับงานจราจร
P. 96

๘๙




                                     ๑.๘)  พฤติกรรมการใชรถใชถนน ผูขับขี่ที่มีพฤติกรรมเสี่ยงตอการเกิดอุบัติเหตุ
                 เชน มีความผิดพลาดขณะขับรถ เชน การเบรก การเลี้ยว การใชสัญญาณไฟ การแซง การใชความเร็ว

                 การควบคุมรถ ขับรถผิดชองทาง และการเลี้ยวกลับรถ จะทําใหมีโอกาสเสี่ยงตอการเกิดอุบัติเหตุได
                 มากกวาผูขับรถดวยความระมัดระวัง
                                     ๑.๙)  ภาวะรางกาย ผูขับขี่ยานพาหนะขณะที่รางกายไมมีความพรอม เชน

                 รางกายออนเพลียขณะขับรถเปนเวลานาน และการพักผอนไมเพียงพอ ทําใหมีโอกาสหลับใน หรือการ
                 ตัดสินใจของผูขับขี่ชาลง กลุมบุคคลเหลานี้มีโอกาสเสี่ยงตอการเกิดอุบัติเหตุมากกวาผูขับขี่ที่มีรางกาย

                 สมบูรณ
                                     ๑.๑๐)  โรคประจําตัว เชน ผูขับขี่ที่เปนโรคหัวใจ โรคไต โรคปอด และโรคลมชัก

                 กลุมบุคคลเหลานี้มีโอกาสเสี่ยงตอการเกิดอุบัติเหตุมากกวาผูขับขี่ที่มีรางกายสมบูรณ
                                     ๑.๑๑)  ความผิดปกติทางรางกาย เชน ผูขับขี่มีระบบการไดยินบกพรอง หรือมี

                 ความผิดปกติทางสายตา มีโอกาสเสี่ยงตอการเกิดอุบัติเหตุมากกวาผูขับขี่ที่มีรางกายสมบูรณ
                                     ๑.๑๒) บุคลิกภาพ ชนิด เอ คือผูขับขี่ที่มีลักษณะพิเศษทางอารมณหรือการกระทํา
                 ที่แสดงใหเห็นถึงการตอสูแขงขัน ความมุงมั่นไปสูความสําเร็จและความกาวราว จะมีโอกาสเสี่ยงตอ

                 การเกิดอุบัติเหตุไดมากกวาผูขับขี่ที่มีลักษณะทางจิตปกติ
                                     ๑.๑๓) ทัศนคติ พบวา ผูขับขี่ที่มีทัศนคติที่ไมดีตอการขับรถ จะมีโอกาสเสี่ยงตอ

                 การเกิดอุบัติเหตุไดมากกวาผูที่มีทัศนคติที่ดีตอการขับรถ
                                     ๑.๑๔) ความเชื่อมั่นในตัวเอง พบวา ผูที่มีความเชื่อมั่นในตัวเองสูงจะมีโอกาส

                 เสี่ยงตอการเกิดอุบัติเหตุสูง
                                     ๑.๑๕) ความเครียด ผูที่มีความเครียดตอสภาพการจราจรแออัด ทําใหมีโอกาส

                 เสี่ยงตอการเกิดอุบัติเหตุสูง
                                     ๑.๑๖) สุขภาพจิตเสื่อม เชน ผูปวยจิตเวช และผูปวยโรคสุราเรื้อรัง บุคคลเหลานี้
                 มีโอกาสเสี่ยงตอการเกิดอุบัติเหตุสูง

                                     ๑.๑๗) ประสาทการรับรู ผูขับขี่ที่มีปญหาเกี่ยวกับประสาทการรับรู เชน ลักษณะ
                 การมองเห็น การไดยิน การประเมินความเสี่ยงตอสถานการณตางๆ ขณะขับรถ และการควบคุม

                 การขับรถ โดยพบวาผูขับขี่ที่มีสติดีหรือมีการรับรูที่ดี จะมีความปลอดภัยในขณะขับรถมาก
                                     ๑.๑๘) สถานภาพเศรษฐกิจ – สังคม ผูขับขี่ที่มีปญหารุนแรงระหวางบุคคล
                 หรือมีความขัดแยงในครอบครัว มีสถานภาพการประกอบอาชีพอยูในระดับตํ่า เชน มีอาชีพรับจาง

                 ทั่วไป มีประวัติการกระทําผิดทางอาญามากอน หรือมีประวัติชอบฝาฝนกฎจราจร กลุมบุคคลเหลานี้
                 มีโอกาสเสี่ยงตอการเกิดอุบัติเหตุ

                                     ๑.๑๙) วัฒนธรรม ผูขับขี่ที่อยูในสังคมที่ชอบเสี่ยงภัยเพื่อตอบสนองความกาวราว
                 ของตนเอง มีพฤติกรรมกาวราวและชอบใชความรุนแรงในการแกปญหา บุคคลเหลานี้มีโอกาสเสี่ยงตอ

                 การเกิดอุบัติเหตุ
   91   92   93   94   95   96   97   98   99   100   101