Page 97 - กฎหมายที่เกี่ยวข้องกับงานจราจร
P. 97
๙๐
ò) »˜¨¨Ñ´ŒÒ¹ÂÒ¹¾Ò˹Рยานพาหนะที่มีสภาพชํารุดบกพรอง ขาดการตรวจสอบ
และบํารุงรักษาที่ดี กอนใชงานตลอดจนยานพาหนะที่ไมเปนไปตามมาตรฐาน อาจจะเปนสาเหตุทําให
เกิดอุบัติเหตุจราจรได โดยปจจัยที่เกี่ยวของกับยานพาหนะอาจแยกไดเปน ๒ ประเด็น ดังนี้
๒.๑) ยานพาหนะมีอุปกรณที่อยูในสภาพไมสมบูรณ ชํารุด บกพรอง ไดแก
- ระบบหามลอทํางานไมปกติ เชน เบรกแตก คันชัก คันสงหลุด
- สภาพของยาง เชน ยางแตก ยางรั่ว
- ระบบไฟสองสวางและไฟสัญญาณ เชน ระบบไฟสองสวางหรือ
ไฟสัญญาณเสีย
- ระบบปดนํ้าฝนไมสามารถใชงานไดในขณะฝนตก ทําใหทัศนวิสัยในการ
ขับขี่ไมดี
๒.๒) ยานพาหนะไมเปนไปตามมาตรฐานความปลอดภัย ไดแก
- การบรรทุกที่ไมปลอดภัย เชน การบรรทุกนํ้าหนักเกิน การบรรทุก
สูงเกิน การบรรทุกยื่นเกินอัตราที่กฎหมายกําหนด
- มีการปรับแตงสภาพยานพาหนะอันอาจสงผลตอความปลอดภัย
- ไมมีอุปกรณเสริมเพื่อความปลอดภัย เชน เข็มขัดนิรภัย หมวกนิรภัย
เปนตน
ó) »˜¨¨Ñ´ŒÒ¹¶¹¹ เปนองคประกอบที่สําคัญของระบบการจราจร หากถนนมีการ
ออกแบบที่ไมไดมาตรฐานตามหลักวิศวกรรม หรือมีสภาพชํารุดบกพรอง ขาดการตรวจสอบและบํารุง
รักษาที่ดี อาจจะเปนสาเหตุใหเกิดอุบัติเหตุจราจรได โดยปจจัยดานถนนที่เกี่ยวของกับการเกิดอุบัติเหตุ
จราจร ประกอบดวย
๓.๑) ความกวางของผิวจราจร พบวา ความกวางของผิวจราจรระหวาง
๓.๔๐ – ๓.๗๐ เมตร เปนความกวางที่เหมาะสมที่สุดสําหรับถนนขนาด ๒ ชองจราจร บริเวณนอกเมือง
เนื่องจากมีอัตราการเกิดอุบัติเหตุตํ่าและมีความสมดุลระหวางการไหลของกระแสจราจรกับ
ความปลอดภัยตอการจราจรมากที่สุด และถนนที่มีผิวจราจรกวางนอยกวา ๓.๐๐ เมตรนั้น มีอิทธิพล
ทําใหการเกิดอุบัติเหตุจราจรแตละครั้งมีรถเกี่ยวของมากกวาหนึ่งคัน
๓.๒) ความกวางไหลทาง คือ พื้นที่ดานขางของผิวทางที่อยูดานนอกทั้งสองขาง
และยังมิไดจัดทําเปนทางเทา ซึ่งมีผลตอความปลอดภัยในการจราจร โดยไหลทางชนิดที่ไมปูผิวทาง
จะมีอัตราการเกิดอุบัติเหตุสูงกวาชนิดที่ปูผิวทางอยางชัดเจน สัดสวนการเกิดอุบัติเหตุบนถนนที่มีไหลทาง
ชนิดไมปูผิวทางและปูผิวทาง มีคาเทากับ ๓ ตอ ๑ และ ๑ ตอ ๑ สําหรับกรณีทางตรงที่เปนทางราบ
และทางโคงหรือทางลาดชันตามลําดับ นอกจากนี้ยังพบวาไหลทางที่มีขนาดกวาง ๐.๐๐–๒.๐๐ เมตร
จะมีผลตอการเกิดอุบัติเหตุจราจรสูง สําหรับไหลทางที่มีความกวางมากกวา ๒.๕๐ เมตร พบวาจะมีผล
ตอการเกิดอุบัติเหตุจราจรเพียงเล็กนอย