Page 95 - กฎหมายที่เกี่ยวข้องกับงานจราจร
P. 95

๘๘



                         ò. »˜¨¨Ñ·Õè¡‹ÍãËŒà¡Ô´ÍغÑμÔàËμØ¨ÃҨ÷ҧ¶¹¹
                             ปจจัยที่เกี่ยวของกับการเกิดอุบัติเหตุจราจรทางถนน พบวา มีปจจัยที่สําคัญ ๔ ประการ

              คือ ๑) ปจจัยดานผูขับขี่ ๒) ปจจัยดานยานพาหนะ ๓) ปจจัยดานถนน และ ๔) ปจจัยดานสิ่งแวดลอม

              ซึ่งการเกิดอุบัติเหตุแตละครั้ง อาจมีสาเหตุมาจากปจจัยเดียว หรือจากหลายปจจัยเกิดขึ้นรวมกัน
              โดยมีรายละเอียดของแตละปจจัย ดังตอไปนี้ (กวี เกื้อเกษมบุญ, ๒๕๔๕)
                             ñ) »˜¨¨Ñ´ŒÒ¹¼ÙŒ¢Ñº¢Õè  เนื่องจากผูขับขี่ (Driver) เปนตัวการที่ทําใหเกิดอุบัติเหตุ

              โดยตรง เพราะผูขับขี่เปนคนบังคับและควบคุมยานพาหนะใหอยูในสถานการณตางๆ ทั้งการบังคับรถ
              เพื่อหลีกเลี่ยงการเกิดอุบัติเหตุและการบังคับรถที่เปนสาเหตุทําใหเกิดอุบัติเหตุ สําหรับปจจัย

              ดานผูขับขี่ที่มีผลตอการเกิดอุบัติเหตุการจราจรบนถนน มีรายละเอียดของแตละปจจัย ดังนี้
                                 ๑.๑)  เพศ โดยทั่วไปเพศชายมีสัดสวนการเกิดอุบัติเหตุการจราจรมากกวา

              เพศหญิง เนื่องจากเพศชายมีพฤติกรรมการขับขี่ที่มีความเสี่ยงมากกวาเพศหญิง เชน การขับรถ
              ขณะมึนเมา ขับรถดวยความประมาทขาดความระมัดระวัง ขับรถเร็วเกินกฎหมายกําหนด

                                 ๑.๒)  อายุ ซึ่งพบวาผูขับขี่ที่มีชวงอายุระหวาง ๑๗ - ๒๐ ป จะมีอัตราการเกิด
              อุบัติเหตุสูงที่สุด แตอัตราการเกิดอุบัติเหตุจะลดลงเมื่อผูขับขี่มีอายุมากขึ้น และอัตราการเกิดอุบัติเหตุ

              จะเพิ่มขึ้นอีกเมื่อผูขับขี่มีอายุมากกวา ๖๐ ปขึ้นไป
                                 ๑.๓)  ประสบการณการขับขี่ คือ ผูขับขี่ยานพาหนะที่มีจํานวนประสบการณ

              การขับขี่ตางกันจะมีความเกี่ยวของกับการเกิดอุบัติเหตุตางกัน ผูที่ฝกหัดขับรถไมเพียงพอ ทําให
              ขาดความรู ความชํานาญในการใชรถใชถนน เชน ขาดความรูเรื่องการคาดคะเนความเร็วหรือประมาณ

              ระยะทางไมถูกตอง หรือไมคุนเคยในเรื่องลักษณะของยวดยานทําใหไมสามารถบังคับรถได
                                 ๑.๔)  การดื่มของมึนเมา ผูขับขี่ยานพาหนะขณะมึนเมาจะไมสามารถควบคุม

              สติสัมปชัญญะได ผูที่ขับขี่ขณะมึนเมาจะมีความเสี่ยงตอการเกิดอุบัติเหตุสูงกวาคนขับขี่ที่ไมดื่ม
              ของมึนเมา นอกจากนี้การเพิ่มขึ้นของระดับแอลกอฮอลทุกๆ รอยละ ๐.๐๒ จะทําใหจํานวน
              การเกิดอุบัติเหตุจนเสียชีวิตเพิ่มขึ้นเปน ๒ เทา และอัตราเสี่ยงของการเกิดอุบัติเหตุจราจรของผูขับขี่

              ที่มีระดับแอลกอฮอลในเลือดสูงกวา ๐.๑ เปอรเซ็นต จะมีความเสี่ยงตอการเกิดอุบัติเหตุสูงกวาผูขับรถ

              ที่ไมมึนเมาประมาณ ๗ เทา
                                 ๑.๕)  การไมปฏิบัติตามกฎจราจร ผูขับขี่ยานพาหนะไมปฏิบัติตามกฎจราจร
              เกี่ยวกับสัญญาณไฟจราจร กฎจราจร และการใชสัญญาณไฟ ทําใหมีความเสี่ยงตอการเกิดอุบัติเหตุสูง

              เนื่องจากผูขับขี่อาจจะบังคับรถไปในทิศทางหรือตําแหนงที่ทําใหเกิดอุบัติเหตุไดงาย
                                 ๑.๖)  การใชยา ผูขับขี่ที่ใชยาบางประเภท เชน ยาแกแพ ยาลดความดัน หรือ

              ยาอื่นๆ ที่มีผลขางเคียงทําใหงวงนอน ทําใหมีความเสี่ยงตอการเกิดอุบัติเหตุมากกวาผูขับรถที่ไมใชยา
                                 ๑.๗)  การใชสารเสพติด เชน ยากลอมประสาท จะทําใหสมรรถภาพการขับขี่

              ลดลง โดยผูขับขี่ที่ใชยากลอมประสาทจะมีอัตราเสี่ยงตอการเกิดอุบัติเหตุมากกวาผูขับขี่ที่ไมใช
              ยากลอมประสาทประมาณ ๕ เทา
   90   91   92   93   94   95   96   97   98   99   100