Page 54 - 7.Big Data Application on Digital Marketing
P. 54

หลักการประยุกต์ใช้ข้อมูลขนาดใหญ่ด้านดิจิทัลมาร์เก็ตติ้งออนไลน์ในอุตสาหกรรม S-curve ของประเทศไทย |
                                                                                                         |  53
















































                   รูปที่  4.4  บทบาทของกรมสงเสริมอุตสาหกรรมในอุตสาหกรรมการเกษตรและเทคโนโลยีชีวภาพ

                                                 [ที่มา. กรมสงเสริมอุตสาหกรรม]


                       คุณสมบัติพื้นฐานสำคัญของ Big Data นั้น เปนขอมูลที่มีจำนวนมากในทุกมิติ มีความซับซอนหลากหลาย
               เปลี่ยนแปลงอยูตลอดเวลาซึ่งกระทรวงเกษตรฯ ไดมีการเชื่อมโยงกับกรมการปกครอง กระทรวงมหาดไทย และกระทรวง
               พาณิชย รวมทั้งธนาคารเพื่อการเกษตรและสหกรณการเกษตรเรียบรอยแลว ทำใหสามารถทราบปริมาณผลผลิต ชวงเวลา

               แหลงผลิตที่สำคัญ ตามนโยบายตลาดนำการผลิต เพื่อใชบริหารจัดการและกำหนดราคาไดอยางเหมาะสม

                       การดำเนินการ Big data ออกเปน 4 กลุมหลัก ไดแก
                       1. ดานขอมูลเกษตรกรและสถาบันเกษตรกร ไดแก ขอมูลการขึ้นทะเบียนเกษตรกร ขอมูลสหกรณ กลุมเกษตรกร มี
               กรมสงเสริมการเกษตรเปนหนวยงานรับผิดชอบหลัก

                       2. ดานขอมูลสินคาเกษตร และเทคโนโลยีชีวภาพการเกษตร ไดแกขอมูลดานการผลิตสินคาเกษตร และ
               เทคโนโลยีชีวภาพการเกษตร มี สศก. เปนหนวยงานรับผิดชอบหลัก
                       3. ดานขอมูลและพื้นที่เกษตรกรรม ไดแก ขอมูลความเหมาะสมการใชที่ดิน ขอมูลการใชที่ดิน มีกรมพัฒนาที่ดินเปน

               หนวยงานรับผิดชอบหลัก และ





                 INTRODUCTION TO IOT ANALYTICS USING HADOOP                                        สถาบันสหวิทยาการดิจิทัลและหุนยนต มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลพระนคร
   49   50   51   52   53   54   55   56   57   58   59