Page 50 - 7.Big Data Application on Digital Marketing
P. 50

หลักการประยุกต์ใช้ข้อมูลขนาดใหญ่ด้านดิจิทัลมาร์เก็ตติ้งออนไลน์ในอุตสาหกรรม S-curve ของประเทศไทย |
                                                                                                         |  49

                    4.1  บทนำ : ความสำคัญของอุตสาหกรรมการเกษตรและเทคโนโลยีชีวภาพ


                       ภาคการเกษตรเปนสาขาอุตสาหกรรมที่มีผลิตภัณฑมวลรวมมากที่สุดในประเทศไทย มีมูลคาถึงรอยละ 8.4 ของ
               ผลิตภัณฑมวลรวมของประเทศ (GDP นอกจากนี้ ยังมีสัดสวนแรงงานสูงถึงรอยละ 40  สงผลใหการเกษตรเปนอุตสาหกรรมที่

               มีความสำคัญยิ่งตอเศรษฐกิจไทย อยางไรก็ดี ปจจุบันภาคเกษตรกรรมในไทยยังมีผลิตภาพแรงงานอยูในระดับคอนขางต่ำ จึงมี
               การมุงเนนสงเสริมศักยภาพและยกระดับจากการนำเทคโนโลยีทางการเกษตรใหมๆ มาใช เพื่อสงผลใหเกิดการพัฒนากลุม
               อุตสาหกรรมยอยที่เปนเปาหมาย ไดแก ธุรกิจเทคโนโลยีการเกษตรขั้นสูง เชน การใชระบบเครื่องรับรู (Sensors การใช

               เทคนิคการวิเคราะหขอมูลระดับสูง (Advance Data analytics และระบบอัตโนมัติ การลงทุนและการวิจัยทาง
               เทคโนโลยีชีวภาพ (Biotechnology เชน การปรับปรุง พั นธุพืชและสัตว อุตสาหกรรมการคัดคุณภาพ บรรจุ เก็บรักษาพืชผัก
               ผลไม หรือดอกไมที่ใชเทคโนโลยีขั้นสูง เชน การใชระบบเซ็นเซอรตรวจสอบเนื้อในผลไม และกิจการผลิตผลิตภัณฑจากยาง

               ธรรมชาติ
































                                    รูปที่ 4.1  อุตสาหกรรมการเกษตรและเทคโนโลยีชีวภาพ
                                               [ที่มา. http://www.industry.go.th]



                       รายงานการวิเคราะหแนวโนมเทคโนโลยีและอุตสาหกรรม อุตสาหกรรมการเกษตรและเทคโนโลยีชีวภาพ โดย

               สถาบันทรัพยสินทางปญญาแหงจุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย (2560 ที่เสนอตอ กรมทรัพยสินทางปญญา ระบุวา อุตสาหกรรม
               การเกษตรและเทคโนโลยีชีวภาพ เปน 1 ใน 10 อุตสาหกรรมที่มีความสำคัญและ ไดรับการมุงเนนจากภาครัฐในการพัฒนา
               ตามยุทธศาสตรขับเคลื่อนเศรษฐกิจเพื่อยกระดับประเทศเขาสูยุค ไทยแลนด 4.0 โดยเปนอุตสาหกรรมที่มีบริบทครอบคลุมทั้ง

               ระดับมหภาคและจุลภาค ตั้งแตการประยุกต เทคโนโลยีที่ใชในระบบชีววิทยา สิ่งมีชีวิต หรือการดัดแปลงเซลลที่ไมใชตน
               กำเนิด ดวยการสราง ปรับเปลี่ยน แกไขผลิตผลหรือกระบวนการในภาพรวม ไปจนถึงการมุงเนนเทคนิคเชิงพันธุวิศวกรรม ชีว
               โมเลกุล และ กระบวนการพัฒนาเทคโนโลยีที่เฉพาะเจาะจง เพื่อใชกับการผลิตเพาะพันธุพืชผลทางการเกษตรและ/หรือ

               สินคาบริการที่เกี่ยวของ ซึ่งการแบงกลุมจากระบบ ISIC REV.4 อุตสาหกรรมการเกษตรและ เทคโนโลยีชีวภาพจัดอยูในหมวด

                 INTRODUCTION TO IOT ANALYTICS USING HADOOP                                        สถาบันสหวิทยาการดิจิทัลและหุนยนต มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลพระนคร
   45   46   47   48   49   50   51   52   53   54   55