Page 51 - 7.Big Data Application on Digital Marketing
P. 51

หลักการประยุกต์ใช้ข้อมูลขนาดใหญ่ด้านดิจิทัลมาร์เก็ตติ้งออนไลน์ในอุตสาหกรรม S-curve ของประเทศไทย |
                                                                                                         |  50

               A รหัส A000000 เกษตรกรรม การปาไมและการประมง โดยครอบคลุม กิจกรรมทางเศรษฐกิจในหมวดรหัส A01000 การ

               เพาะปลูกและการเลี้ยงสัตว การลาสัตว และกิจกรรม บริการที่เกี่ยวของ ไดแก หมวดรหัสยอย A011000 การปลูกพืชลมลุก
               หมวดรหัสยอย A012000 การปลูก พืชยืนตน และหมวดรหัสยอย A01300 การทำสวนไมประดับและการขยายพันธุพืช

                       อุตสาหกรรมเกษตรและเทคโนโลยีชีวภาพถือเปนอุตสาหกรรมที่มีศักยภาพสูงและความสำคัญยิ่งตอเศรษฐกิจของ
               ประเทศไทย โดยประเทศไทยมีความพรอมทั้งในดานวัตถุดิบ อาทิ เปนผูสงออกน้ำตาลอันดับ 2 ของโลก (75 ลานตันตอป

               และสงออกมันสำปะหลังอันดับ 1 ของโลก (25 ลานตันตอป นอกจากนี้ ยังเปนผูนำการผลิตและใชเชื้อเพลิงชีวภาพใน
               อาเซียน โดยมีการใชเอทานอล 2.9 ลานลิตรตอวัน และไบโอดีเซล 2.8 ลานลิตรตอวัน อีกทั้งเปนผูนำการแปรรูปผลิตภัณฑ
               พลาสติกในอาเซียน โดยมีผูประกอบการมากกวา 3,000 ราย และเปนผูนำการผลิตเม็ดพลาสติกในอาเซียน 6.6 ลานตันตอป
               ตลอดจนเปนฐานการผลิตผลิตภัณฑตางๆ ในอาเซียน ไมวาจะเปนผลิตภัณฑเครื่องใชภายในบาน (Home Care ผลิต ภัณฑ

               เครื่องใชสวนบุคคล (Personal Care และเครื่องสำอาง

                       แนวโนมของอุตสาหกรรมระดับโลก พบวา ตลาดพืชเกษตรชีวภาพมีการเติบโตตอเนื่อง โดยในป 2558 มีมูลคา
               ตลาดรวม 15.3 พันลานเหรียญสหรัฐฯ คิดเปนรอยละ 20 ของตลาดพืชเกษตรกรรมทั่วโลก (76.2 พันลานเหรียญสหรัฐฯ

               หรือคิดเปนรอยละ 34 ของตลาดการคาขายเมล็ดพันธุพืช (45 พันลานเหรียญสหรัฐฯ ซึ่งมูลคาตลาดพืชเกษตรชีวภาพขึ้นกับ
               ราคาขายเมล็ดพันธุพืชชีวภาพ บวกกับคาธรรมเนียมดานเทคโนโลยี จึงถือเปนการพัฒนาเทคโนโลยีชีวภาพเพื่อการเกษตรที่
               เติบโตรวดเร็วที่สุดในประวัติศาสตรของเกษตรกรรมสมัยใหม และทำใหเกิดการขยายพื้นที่เพาะปลูกทั่วโลกเพิ่มขึ้น สวนใหญ

               อยูในกลุมประเทศกำลังพัฒนา (Developing Countries ประมาณ 28 ประเทศ โดยเปนเกษตรกรรายยอยที่มีทรัพยากร
               จำกัดและฐานะยากจน พืชเกษตรชีวภาพที่นิยมเพาะปลูก ไดแก ถั่วเหลือง (Soybean  ขาวโพด (Maize ฝาย ( Cotton และ
               คาโนลา (Canola อุตสาหกรรมนี้ไดรับความสนใจในการลงทุนจากทั่วโลก และไดรับการจัดอันดับจากนิตยสารระดับโลกวา

               เปนหนึ่งในหาอุตสาหกรรมที่มีนวัตกรรมสูงที่สุด สวนแนวโนมของอุตสาหกรรมระดับประเทศ จากรายงานของสำนักงาน
               คณะกรรมการสงเสริมการลงทุน ระบุวาอุตสาหกรรมการเกษตรและเทคโนโลยีชีวภาพของไทย เปนเสาหลักที่แข็งแกรงมา
               นานกวา 20 ป เห็นไดจากชื่อเสียงและสถานภาพโดดเดนของไทยในฐานะผูนำดานเกษตรกรรมระดับโลก โดยไทยมีแนว

               ทางการพัฒนาที่ใหความสำคัญกับกลุมอุตสาหกรรมฐานชีวภาพอยางชัดเจน จากหนวยงานรัฐหลายฝายรวมมือบูรณาการ
               จัดทำเปาหมายพัฒนาเศรษฐกิจฐานชีวภาพ และดำเนินการมาแลวตั้งแตป 2547 มีการกำหนดกรอบแนวทางนโยบายเพื่อ
               กระตุนพัฒนาธุรกิจฐานชีวภาพ ตลอดจนการวิจัยพัฒนาดานเทคโนโลยีชีวภาพ ซึ่งที่ผานมาเปาหมายการพัฒนาในระยะที่หนึ่ง
               (ป 2547-2554 ถือวาประสบความสำเร็จโดยเฉพาะดานการสรางธุรกิจใหมๆ เกี่ยวกับชีวภาพ ( New Bio-Business มีบริษัท

               เกิดขึ้นใหมมากกวา 165 ราย มีการลงทุนในดานวิจัยพัฒนาที่มีมูลคามากกวา 5,000 ลานบาท มีการจดสิทธิบัตรดาน
               เทคโนโลยีชีวภาพ เพิ่มขึ้นถึงรอยละ 200 มีมาตรการสงเสริมการลงทุนดานเทคโนโลยีชีวภาพดวยการสนับสนุน

               Biotechnology Park และการใหสิทธิประโยชนภาษีการวิจัยและพัฒนา ปจจุบันเปาหมายการพัฒนาอยูในระยะที่สอง (ป
               2555-2564 ซึ่งประกอบดวย 4 เปาหมายหลัก คือ เกษตรกรรมและอาหารสุขภาพ อุตสาหกรรมการผลิต และพลังงาน
               ชีวภาพ

                       อยางไรก็ตาม จากขอมูลรายงานของ Global Agriculture Information Network Report2016 (GAIN 2016

               เกี่ยวกับเทคโนโลยีชีวภาพเพื่อการเกษตรของไทย ประจำป 2559 ระบุวา ไทยยังคงมีกรอบแนวทางนโยบายดาน
               เทคโนโลยีชีวภาพเพื่อการเกษตร ที่ยืนยันขอบังคับการไมอนุญาตใหเพาะปลูกพืชชีวภาพหรือพืชตัดแตงพันธุกรรม
               ภายในประเทศ แตก็ไดผอนปรนใหผูประกอบการสามารถใชผลิตภัณฑที่เปนพืชชีวภาพซึ่งเปนสวนผสมหรือวัตถุดิบ (ตาม

               เกณฑ ดวยการนำเขาจากตางประเทศ




                 INTRODUCTION TO IOT ANALYTICS USING HADOOP                                        สถาบันสหวิทยาการดิจิทัลและหุนยนต มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลพระนคร
   46   47   48   49   50   51   52   53   54   55   56