Page 46 - 7.Big Data Application on Digital Marketing
P. 46

หลักการประยุกต์ใช้ข้อมูลขนาดใหญ่ด้านดิจิทัลมาร์เก็ตติ้งออนไลน์ในอุตสาหกรรม S-curve ของประเทศไทย |
                                                                                                         |  45

                       การทำการตลาดดิจิทัลในปจจุบันนั้นตองใหความสำคัญใน 5 ประเด็นขางตน ผูประกอบการตองมีกลยุทธทำให

               ลูกคาสามารถจดจำตราสินคาได เชน ลูกคาสามารถจดจำตราสินคาของโรงแรม สายการบินได ซึ่งจะทำใหลูกคาเกิดความ
               สนใจมากขึ้น

                       นอกจากนั้นตองมีการวางระบบสามารถใหลูกคาสอบถามหาขอมูลเพิ่มขึ้นในระบบขอมูลออนไลนที่มีลักษณะขอมูล
               ออนไลนจำนวนมาก (Big Data และมี การบริหารจัดการใหเกิดการเชื่อมโยงเพื่อทำใหนักทองเที่ยวเกิดความพึงพอใจ

               (Customer Relationship Management เพื่อมาเปรียบเทียบและไดขอมูลผลิตภัณฑไดกอนตัดสินใจซื้อ และเมื่อตัดสินใจ
               ซื้อแลว เมื่อลูกคารูสึกภูมิใจก็จะมีการบอกตอหรือแบงปนขอมูลในระบบออนไลน ถือวาเปนขอดีในกลยุทธการทำการตลาดยุค
               ใหม

                       นอกจากนั้น แนวคิดกลยุทธการทำการตลาดยุคใหมที่ใหนักทองเที่ยวชาวตางชาติเดินทางมาเที่ยวประเทศไทย คือ

               กลยุทธการตลาดตองแสดงใหเห็นถึงการสรางคุณคารวมกัน (Co- Creation โดยเปดโอกาสใหนักทองเที่ยวมีสวนรวมในการ
               สรางคุณคารวมกันระหวางนักทองเที่ยวและผูใหบริการ โดยอาศัยการสนทนาและการปฏิสัมพันธในระบบออนไลนหรือเปน
               การสรางความสำคัญรวมกันระหวางผูใหบริการ

                       การนำเทคโนโลยี Big Data ผสมผสานกับการตลาดดิจิทัลออนไลนที่เหมาะสมตอการพัฒนาเพื่อเพิ่มขีด

               ความสามารถในการแขงขันของกลุมอุตสาหกรรมการทองเที่ยวกลุมรายไดดีและการทองเที่ยวเชิงสุขภาพ ประกอบดวย
               เทคโนโลยีพื้นฐาน ไดแก เทคโนโลยีที่เกี่ยวของกับระบบการบริหารจัดการสำหรับธุรกิจการเดินทางและเทคโนโลยีระบบนำ
               ทาง ที่พักแรม ภัตตาคาร รานอาหาร เทคโนโลยีที่เกี่ยวของกับระบบการนวดและสปาสมุนไพรเพื่อเปนผลิตภัณฑที่ใชในธุรกิจ

               สปา การแพทยทางเลือก และการทองเที่ยวเชิงสุขภาพ เทคโนโลยีที่ใชในกลุมนักทองเที่ยวผูสูงอายุ การประเมินความเสี่ยง
               ของสถานที่ทองเที่ยวหรือสภาพภูมิศาสตร ระบบผูเชี่ยวชาญแนะน าสถานที่ทองเที่ยวที่เหมาะสม

                       ทิศทางการวิจัยและพัฒนาในอนาคต ควรมุงเนนการพัฒนาเทคโนโลยีที่จะชวยตอบสนองความตองการของ
               นักทองเที่ยวกลุมตางๆ ไดอยางมีประสิทธิภาพและประสิทธิผล เชน นำระบบ Digital Health Care และแพลตฟอรมตางๆ

               รวมทั้ง Big Data เขามาประยุกตใชในการใหบริการกลุมผูสูงอายุหรือกลุมนักทองเที่ยวเชิงการแพทย พัฒนาระบบบริหาร
               จัดการขอมูลเพื่อการตลาดเชิงผสมผสานทั้งแบบออนไลนและออฟไลน เพื่อจัดรูปแบบการทองเที่ยวใหตอบสนองตอความ
               ตองการของนักทองเที่ยว พัฒนาตัวแบบธุรกิจรูปแบบใหม เพื่อสงเสริมใหเกิดการทำการตลาดแบบเกื้อกูล สงเสริมความ

               รวมมือระหวางพันธมิตรการทองเที่ยว เชน ภาครัฐและเอกชน รวมทั้งคนในทองถิ่น

                  3.5 สรุปบท


                       จากขอมูลดังกลาวจะพบวา อุตสาหกรรมการทองเที่ยวกลุมรายไดดีและการทองเที่ยวเชิงสุขภาพเปน 1 ใน
               อุตสาหกรรมตอยอดอุตสาหกรรมเดิมที่มีศักยภาพของประเทศไทย ที่สามารถชวยขับเคลื่อนเศรษฐกิจดิจิทัลในโมเดล

               “ประเทศไทย 4.0” ได

                       จากการที่ผูประกอบการรวมไปถึงนักทองเที่ยวมีแนวโนมจะใชบริการ OTAs เชน Agoda, Booking.com,
               Traveloca, Agoda, Expedia, Booking, Tripadvisor เปนตน มากขึ้น ทำให OTAs ไดกลายเปนชองทางดานการขายและ

               การตลาดที่ครอบคลุมและมีประสิทธิภาพในการเขาถึงกลุมนักทองเที่ยว ดังนั้น ผูประกอบการดานที่พักของไทยจึงควร
               พิจารณาชองทางนี้ ควบคูกับชองทางอื่นๆ เพื่อเพิ่มการเขาถึงลูกคาไดอยางทั่วถึงและสอดคลองกับโครงสรางตนทุนหรือ
               รูปแบบทางธุรกิจของตน




                 INTRODUCTION TO IOT ANALYTICS USING HADOOP                                        สถาบันสหวิทยาการดิจิทัลและหุนยนต มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลพระนคร
   41   42   43   44   45   46   47   48   49   50   51