Page 43 - 7.Big Data Application on Digital Marketing
P. 43

หลักการประยุกต์ใช้ข้อมูลขนาดใหญ่ด้านดิจิทัลมาร์เก็ตติ้งออนไลน์ในอุตสาหกรรม S-curve ของประเทศไทย |
                                                                                                         |  42

                       แนวโนมตลาดการทองเที่ยวเชิงสุขภาพของไทย

                       จากการวิเคราะหแนวโนมการเติบโต (Trend Analysis ของจำนวนชาวตางประเทศที่เขามาใชบริการทางการแพทย
               ในประเทศไทย สามารถพยากรณไดวาในป พ.ศ. 2553 จะมีชาวตางประเทศเขามาใชบริการทางการแพทยประมาณ

               1,777,729 คน คิดเปนอัตราเติบโตเฉลี่ย (CAGR ระหวางป พ.ศ. 2550 -2553 รอยละ 5.71 และในอนาคต 2-3 ปขางหนา
               (2552-2554 คาดวายังไมมีการกอสรางโรงพยาบาลเอกชนขนาดใหญ การขยายอุตสาหกรรมในชวงนี้มีเพียงการปรับปรุง

               สถานที่ และการพัฒนาดานการบริการใหเปนมาตรฐานสากลมากขึ้น รวมทั้งการขยายตัวในรูปของคลินิก หรือโรงพยาบาล
               ขนาดเล็กที่เนนการรักษาเฉพาะดาน อาทิ ดานเวชศาสตรความงาม เวชศาสตรผูสูงอายุ เปนตน

                       โอกาสในการลงทุนธุรกิจการทองเที่ยวเชิงสุขภาพในพื้นที่ที่มีศักยภาพ

                       จากการดำเนินนโยบายการเปนศูนยกลางสุขภาพของเอเชีย หรือ "เมดิคอลฮับ" ในประเทศไทย โดยมีพื้นที่นำรองใน
               ป พ.ศ. 2547 คือ จังหวัดกรุงเทพฯ เชียงใหม ภูเก็ต และเกาะสมุย (สุราษฎรธานี ตามแผนยุทธศาสตรของกระทรวง

               สาธารณสุข  ซึ่งเปนพื้นที่ทองเที่ยวหลักของไทยนั้น ในปจจุบันการลงทุนในธุรกิจทองเที่ยวเชิงสุขภาพยังคงหนาแนนอยูใน
               พื้นที่ทองเที่ยวหลักเชนเดิม ทั้งนี้รวมถึงพื้นที่ทองเที่ยวหลักที่พัทยา (ชลบุรี และ    หัวหิน (ประจวบคีรีขันธ ที่มีชาว
               ตางประเทศเขามาทองเที่ยวและใชบริการดานสุขภาพจำนวนมาก

                       ในพื้นที่ทองเที่ยวหลักมีโรงพยาบาลเอกชนที่มีศักยภาพตั้งอยูมากถึง 92 แหง หรือคิดเปนสัดสวนรอยละ 70 ของ

               โรงพยาบาลที่มีศักยภาพทั้งหมด โดยมีสัดสวนการลงทุนจากตางชาติในพื้นที่ทองเที่ยวหลักมากที่สุด ขณะที่พื้นที่ทองเที่ยว
               ชายแดนไมมีการลงทุนจากตางชาติ

                       จากขอมูลของสำนักงานคณะกรรมการสงเสริมการลงทุน (BOI พบวา มีโรงพยาบาลที่ไดรับการสงเสริมการลงทุ น
               ตั้งแตป พ.ศ. 2540 ถึงปจจุบัน รวม 21 ราย มีมูลคาการลงทุนรวมทั้งสิ้น 9,696.74 ลานบาท โดยในป พ.ศ. 2547 มีมูลคาการ

               ลงทุนสูงที่สุดถึง 3,147.10 ลานบาท คิดเปนอัตราเติบโตมากกวา 300% ทั้งนี้เนื่องจากเปนปที่รัฐบาลเริ่มจัดทำแผน
               ยุทธศาสตรการพัฒนาใหประเทศไทยเปนศูนยกลางสุขภาพของเอเชีย ทั้งนี้รอยละ 80 ของมูลคาการลงทุนรวมของ

               โรงพยาบาลเอกชนที่ไดรับการสงเสริมการลงทุนอยูในพื้นที่ทองเที่ยวหลัก สวนที่เหลือรอยละ 20 อยูในพื้นที่ทองเที่ยวรอง
               ขณะที่พื้นที่ทองเที่ยวชายแดนยังไมมีโรงพยาบาลเอกชนใดไดรับการสงเสริมการลงทุน

                       โอกาสลงทุนในพื้นที่หลัก

                       ผูประกอบการโรงพยาบาลเอกชนสวนใหญมีความเห็นวา โอกาสในการลงทุนยังคงกระจายอยูในพื้นที่ทองเที่ยวหลัก
               เนื่องจากเปนพื้นที่ที่มีศักยภาพสูง มีปจจัยแวดลอมสนับสนุนการลงทุน เชน ประชากรมีฐานะทางเศรษฐกิจดี มีเงินหมุนเวียน

               ในระบบเศรษฐกิจของพื้นที่จำนวนมาก มีแหลงทองเที่ยวที่มีชื่อเสียง มีความพรอมดานสิ่งอำนวยความสะดวกตางๆ ไมวาจะ
               เปนโรงแรมที่พัก การคมนาคม ตลอดจนระบบสาธารณูปโภคเปนตน โดยเฉพาะพื้นที่กรุงเทพฯ ที่มีโรงพยาบาลเอกชนกระจุก
               ตัวอยูจำนวนมาก คาดวาแนวโนมการลงทุนจะมีโอกาสกระจายตัวไปสูพื้นที่ทองเที่ยวหลักอื่นๆ เชน โครงการสรางโรงพยาบาล

               ขนาดเล็กของโรงพยาบาลกรุงเทพ ในพื้นที่หัวหิน จังหวัดประจวบคีรีขันธ เปนตน

                        โอกาสการลงทุนในพื้นที่ทองเที่ยวรองและชายแดน

                       ผูประกอบการโรงพยาบาลเอกชนมีความเห็นวาการลงทุนของธุรกิจโรงพยาบาลในพื้นที่ทองเที่ยวรองมีศักยภาพปาน
               กลาง ขณะที่พื้นที่ทองเที่ยวชายแดนมีศักยภาพคอนขางต่ำ  ทั้งนี้พื้นที่ทองเที่ยวรองที่มีศักยภาพนั้นมักเปนพื้นที่เชื่อมโยงกับ
               พื้นที่ทองเที่ยวหลักที่เกี่ยวเนื่องกับการทองเที่ยวหรือการลงทุน โดยเปนพื้นที่เขตอุตสาหกรรมหรือเปนที่ตั้งของนิคม





                 INTRODUCTION TO IOT ANALYTICS USING HADOOP                                        สถาบันสหวิทยาการดิจิทัลและหุนยนต มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลพระนคร
   38   39   40   41   42   43   44   45   46   47   48