Page 2113 - บทคดยอการทดลองสนสด 58 สมบรณ_Neat
P. 2113
แป้งฟลาวกับเมล็ดถั่วเขียว แป้งสตาร์ชกับเมล็ดถั่วเขียว แป้งฟลาวถั่วเขียวและแป้งสตาร์ช สมการมีค่า
สัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์ (R) = 0.85 0.90 0.92 0.92 0.91 และ 0.95 ตามลำดับ ค่า SEP = 2.64
3.90 4.44 23.42 5.04 และ 22.67 BU ตามลำดับ ต่ำกว่าค่าความคลาดเคลื่อน (SD) = 5.10 9.31
12.04 62.18 12.74 และ 76.50 BU ตามลำดับ ค่า break down มีค่า R = 0.91 0.91 0.86 0.91
0.96 และ 0.88 ตามลำดับ ค่า SEP = 3.69 2.95 3.52 7.96 1.74 และ 9.65 BU ตามลำดับ ต่ำกว่า
ค่า SD = 8.90 7.15 7.09 19.64 6.61 และ 20.38 BU ตามลำดับ ค่า set back มีค่า R = 0.93
0.90 0.96 0.95 0.95 และ 0.92 ค่า SEP = 3.18 3.11 2.20 11.92 2.68 และ 17.88 BU
ตามลำดับ ต่ำกว่าค่า SD = 8.77 7.15 8.89 41.29 8.82 และ 46.66 BU ตามลำดับ ส่วนการทำนาย
และค่าปริมาณซูโครส กลูโคส ฟรุคโตส และน้ำตาลทั้งหมดในเมล็ดและแป้งฟลาวพืชไร่ชนิดต่างๆ ที่ได้
จากการวิเคราะห์ในห้องปฏิบัติการ มีค่าความสัมพันธ์สูง (R) = 0.96 0.90 0.86 0.96 0.86 0.96
0.98 และ 0.97 ตามลำดับ มีค่า SEP = 0.21 0.26 0.16 0.16 0.31 0.19 0.34 และ 0.31 เปอร์เซ็นต์
ตามลำดับ ซึ่งต่ำกว่าค่าความคลาดเคลื่อน (SD) คือ 0.53 0.64 0.20 0.50 0.64 0.59 1.34 และ
1.28 เปอร์เซ็นต์ ตามลำดับ และการทำนายและค่าปริมาณสารลูทีน ซีแซนทีน เบต้า-คริพโตแซนทีน
และเบต้าแคโรทีนในเมล็ดและแป้งฟลาวข้าวโพด ที่ได้จากการวิเคราะห์ในห้องปฏิบัติการ มีค่าสัมประสิทธิ์
สหสัมพันธ์สูง (R) = 0.91 0.90 0.90 0.92 0.93 0.91 0.90 และ 0.90 ตามลำดับ มีค่า SEP = 0.33
0.39 0.07 0.07 0.01 0.01 0.32 และ 0.53 มิลลิกรัมต่อ 100 กรัม ตามลำดับ ซึ่งต่ำกว่าค่า
SD = 0.81 0.91 0.18 0.19 0.04 0.04 0.77 และ 1.23 มิลลิกรัมต่อ 100 กรัม ตามลำดับ จากการ
ทดลองแสดงว่าเทคนิคเนียร์อินฟราเรดสเปกโตรสโคปี สามารถนำมาใช้ในการประเมินโปรตีน
คาร์โบไฮเดรต ความหนืด น้ำตาลและแคโรทีนอยด์ของพืชไร่ชนิดต่างๆ ได้
6. การนำผลงานวิจัยไปใช้ประโยชน์
เทคนิค Near Infrared Spectroscopy สามารถนำมาประยุกต์ใช้ในการวิเคราะห์ประเมิน
ปริมาณโปรตีน คาร์โบไฮเดรตในเมล็ดและแป้งฟลาวถั่วเหลืองและถั่วเขียว ประเมินความหนืดของเมล็ด
และแป้งฟลาวถั่วเหลืองและถั่วเขียว แป้งสตาร์ชของถั่วเขียว น้ำตาลในแป้งพืช แคโรทีนอยด์ของเมล็ด
และแป้งฟลาวของข้าวโพดพันธุ์ต่างๆ ได้
2046