Page 13 - แผนพัฒนา กศน.
P. 13

ทางการศึกษา เปนการสรางโอกาสใหคนไทยไดรับการศึกษาที่มีคุณภาพ เนื่องดวยสถาบันการศึกษาแตละแหงจะ

               แขงขันดานคุณภาพมากขึ้น โดยเฉพาะอยางยิ่งสถาบันอุดมศึกษา ทําใหคุณภาพการศึกษาเพิ่มขึ้นคอนขางมาก
               เนื่องจากการเปดเสรีทางการศึกษาไดเปดโอกาสใหสถาบันอุดมศึกษาตางชาติเขามาเปดการเรียนการสอน จึงเปน

               แรงกดดันใหสถาบันอุดมศึกษาไทยตองพัฒนาคุณภาพการศึกษาใหสูงขึ้น

                              1.2) แนวโนมดานลบ
                              (1) การเพิ่มชองวางดานคุณภาพในการจัดการศึกษา แมวาสภาพการแขงขันทางการศึกษาจะเปน

               แรงผลักดันใหสถาบันการศึกษาตางๆ เรงพัฒนาคุณภาพการจัดการเรียนการสอนมากขึ้น แตเนื่องจากทรัพยากร
               ตั้งตนของแตละสถาบันการศึกษามีความแตกตางกัน ไมวาจะเปนความรูความสามารถและปริมาณของบุคลากร

               การศึกษา งบประมาณ เงินทุน เทคโนโลยี สถานที่ ความมีชื่อเสียง และสงผลใหโอกาสในการพัฒนาคุณภาพ

               การศึกษาแตกตางกันดวย โดยเฉพาะสถาบันการศึกษาขนาดเล็ก หรือสถาบันการศึกษาที่ยังไมมีความพรอม/มี
               ทรัพยากรตั้งตนไมมาก ยอมไมมีศักยภาพเพียงพอในการพัฒนาคุณภาพมากนัก การผลิตบัณฑิตเกินความตองการ

               ของตลาด เนื่องจากความตองการศึกษาตอในระดับอุดมศึกษามีสูงขึ้น และการพัฒนาไปสูการเปนมหาวิทยาลัยใน
               กํากับของรัฐที่ตองหาเลี้ยงตนเอง มีอิสระในการบริหารและเปดหลักสูตรเพื่อหาผูเรียนเขาเรียนใหไดจํานวนมาก

               สิ่งเหลานี้จะสงผลกระทบระยะยาวคือ มีบัณฑิตจบเปนจํานวนมากเขาสูตลาดแรงงานแตไมสามารถรองรับไดหมด

               โดยกลุมแรงงานระดับอุดมศึกษาที่ไมมีคุณภาพหรือไมจบจากสาขาที่ตลาดแรงงานตองการ จะถูกผลักสูแรงงาน
               นอกระบบ หรือหาทางออกโดยเรียนตอระดับสูงขึ้น ซึ่งอาจกอเกิดภาวะแรงงานระดับปริญญาโทและเอกไมมี

               คุณภาพและลนตลาดตามมาเชนกัน การสอนทักษะการคิดและทักษะทางอารมณยังไมมีคุณภาพ สภาพเศรษฐกิจที่

               มุงแขงขัน ทําใหการจัดการศึกษามุงพัฒนาทางวิชาการเปนสําคัญ ในขณะที่ระบบการศึกษาไทยยังไมสามารถ
               พัฒนาทักษะการคิดของผูเรียนไดเทาที่ควร เนื่องจากการเรียนการสอนยังมุงสอนใหผูเรียนคิดตามสิ่งที่ผูสอนปอน

               ความรูมากกวาการคิดสิ่งใหม ๆ ประกอบกับครูผูสอนมีภาระงานมาก จนสงผลตอการพัฒนาบุคคลในดานอื่น เชน
               การพัฒนาเชิงสังคม รวมถึงการพัฒนาทักษะทางอารมณ นอกจากนี้ การใชเทคโนโลยีในกิจวัตรประจําวันหรือใช

               ในการเรียนการสอนทําใหการปฏิสัมพันธระหวางครูกับศิษยลดลง สงผลใหชองทางการพัฒนาทักษะทางอารมณ

               และทักษะทางสังคมของผูเรียนลดลงดวย
                              (2) การสอนคุณธรรมจริยธรรมยังไมมีคุณภาพ แนวคิดของทุนนิยมที่มุงแขงขันไดแพรกระจายไป

               ทั่วโลก สงผลใหผูคนตางมุงแขงขัน และพัฒนาความรูความสามารถ เพื่อความกาวหนาในหนาที่การงานและมีชีวิต
               ความเปนอยูที่ดีขึ้น ประกอบกับสถาบันการศึกษาจํานวนมากตางมุงพัฒนาความรูทางวิชาการ และประเมินผล

               การเรียนที่ความสามารถทางวิชาการ จนอาจละเลยการพัฒนาผูเรียนใหมีคุณธรรม จริยธรรม นอกจากนี้ การไมได

               มีผูสอนที่รูเชี่ยวชาญดานการสอนคุณธรรมจริยธรรมโดยตรงหรือมีคุณภาพ ยอมสงผลตอคุณภาพการสอนของวิชา
               คุณธรรมจริยธรรมได







                                                                        แผนพัฒนาการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย พ.ศ. 2560-2579 ของ สํานักงาน กศน.
                                                                                                               8
   8   9   10   11   12   13   14   15   16   17   18