Page 12 - แผนพัฒนา กศน.
P. 12

1.7 แนวโนมของการศึกษาและการเรียนรูในศตวรรษที่ 21

               1) แนวโนมการศึกษาไทย
                              1.1) แนวโนมดานบวก

                              (1) หลักสูตรใหมเกิดขึ้นจํานวนมาก จากการเปลี่ยนแปลงและการแขงขันในดานเศรษฐกิจและ

               อุตสาหกรรม ทําใหคนในสังคมตองการเพิ่มความรูความสามารถใหทันตอการเปลี่ยนแปลง จึงหันมาสนใจศึกษาตอ
               ในหลักสูตรที่ตอบสนองตอการเปลี่ยนแปลงของเศรษฐกิจ ดังนั้น เพื่อตอบสนองตอความตองการของคนในสังคม

               สถาบันการศึกษาจึงมุงพัฒนาหลักสูตรใหม ๆ อาทิ หลักสูตรที่บูรณาการระหวางสองศาสตรขึ้นไป เชน ระดับ

               อาชีวศึกษาหลักสูตรเดียวจะมีหลายสาขาวิชา เรียนชางยนตจะผนวกการตลาดและการบัญชีเขาไปดวย เปนตน
               หลักสูตรที่ใหปริญญาบัตร 2 ใบ และมีการพัฒนาหลักสูตรใหทันสมัยตลอดเวลา รวมถึงหลักสูตรนานาชาติมี

               แนวโนมมากขึ้น เนื่องจากสภาพยุคโลกาภิวัตนที่มีการเชื่อมโยงดานการคาและการลงทุน ทําใหตลาดแรงงานใน

               อนาคตตองการคนที่มีความสามารถดานภาษาตางประเทศ สงผลใหความตองการการศึกษาที่เปนภาษาสากลมี
               มากขึ้น ที่สําคัญการเปดเสรีทางการศึกษา ยังเปนโอกาสใหสถาบันการศึกษาจากตางประเทศเขามาจัดการศึกษา

               ในประเทศไทย และเปดหลักสูตรภาษาตางประเทศ เชน ภาษาอังกฤษ ภาษาจีน ภาษาญี่ปุน ซึ่งมีสวนกระตุนให
               หลักสูตรการศึกษานานาชาติมีแนวโนมไดรับความนิยมมากขึ้น แตเนื่องจากหลักสูตรนานาชาติมีคาใชจายสูง

               ดังนั้น การเรียนในหลักสูตรนี้จึงยังคงจํากัดอยูในกลุมผูเรียนที่มีฐานะดี

                              (2) การจัดการศึกษามีความเปนสากลมากขึ้น สังคมยุคดิจิทัลที่มีการเชื่อมโยงในทุกดานรวมกัน
               ทั่วโลก สงผลใหเกิดการเคลื่อนยายองคความรู กฎกติกา การดําเนินการดานตาง ๆ ทั้งการคา การลงทุน

               การศึกษา เศรษฐกิจ สังคม และวัฒนธรรมที่เชื่อมตอถึงกัน ประกอบกับการเปดเสรีทางการศึกษา สงผลใหเกิดการ
               หลั่งไหลหลักสูตรการเรียนการสอน บุคลากรดานการสอน หลักสูตร จากสถาบันการศึกษาตางประเทศเขาสูไทย

               อันมีผลทําใหเกิดการเปรียบเทียบและผลักดันใหสถาบันการศึกษาของไทยตองพัฒนาการจัดการศึกษาที่มีความ

               เปนสากลใหเปนที่ยอมรับ อีกทั้งการเปดเสรีทางการคาและการลงทุนกับนานาประเทศของไทย ไดสงผลใหเกิด
               ความตองการการศึกษาที่มีคุณภาพทัดเทียมกันในระดับสากล

                              (3) ความเหลื่อมล้ําดานโอกาสทางการศึกษาลดลง เนื่องจากสภาพการเรียกรองสิทธิมนุษยชนที่

               เปนกระแสระดับโลกเกิดขึ้นควบคูกับคลื่นประชาธิปไตยที่แผขยายวงกวางถึงไทย รัฐธรรมนูญแหงราชอาณาจักร
               ไทย พุทธศักราช 2560 สงเสริมการเพิ่มสิทธิเสรีภาพแกประชาชน อีกทั้งสภาพการใชเทคโนโลยีสงเสริมการเรียน

               การสอน ทําใหเกิดชองทางการเผยแพรขอมูลขาวสารที่เขาถึงคนไดอยางกวางขวาง อยางไรก็ตาม อาจเปนไดวา
               ความเหลื่อมล้ําดานโอกาสทางการศึกษาจะลดลงในกลุมสถาบันการศึกษาของรัฐ สวนการจัดการศึกษาโดย

               สถาบันการศึกษาเอกชน ผูเรียนที่ครอบครัวมีรายไดนอยอาจเขารับบริการทางการศึกษาไดลดลง เนื่องจากคาเลา

               เรียนแพง ดังนั้น โอกาสรับบริการทางการศึกษาที่มีคุณภาพเพิ่มขึ้น เมื่อเปดเสรีทางการศึกษาจะกอเกิดการแขงขัน
               ในการจัดการศึกษาทั้งจากสถาบันการศึกษาทั้งในและตางประเทศมากขึ้น หากพิจารณาในแงบวก การเปดเสรี




                                                                        แผนพัฒนาการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย พ.ศ. 2560-2579 ของ สํานักงาน กศน.
                                                                                                               7
   7   8   9   10   11   12   13   14   15   16   17