Page 9 - แผนพัฒนา กศน.
P. 9
คุมคา และปริมาณของเสียที่เพิ่มขึ้น นําไปสูความเสี่ยงตอการสูญเสียความหลากหลายทางชีวภาพ รวมไปถึงการ
กัดเซาะชายฝงอยางตอเนื่อง ขณะที่ภัยพิบัติเกิดขึ้นบอยครั้ง จะสงผลกระทบตอฐานการผลิตภาคเกษตร
ความมั่นคงดานอาหาร พลังงาน สุขภาวะและคุณภาพชีวิตของประชาชนการใชเครื่องมือทางเศรษฐศาสตร
และกฎหมายที่เกี่ยวของ ยังมีอยูจํากัด รวมทั้งมีความซ้ําซอน มีชองวางและขาดการบังคับใชอยางจริงจังจาก
สถานการณสิ่งแวดลอมและพลังงานโลกที่สงผลกระทบถึงประเทศไทย การใหการศึกษาแกประชาชน เพื่อใหมี
ความรูและปรับตัวรองรับผลกระทบดานสิ่งแวดลอมและพลังงานของโลกและประเทศไทยในอนาคต ควรมุงเนนใน
2 หลักการ ดังนี้ (1) กระบวนการใหความรูพื้นฐานและความเขาใจที่ถูกตองดานพลังงานและสิ่งแวดลอม จะเปน
ปจจัยที่ทําใหนักเรียนนักศึกษาไดเขาใจและตระหนักถึงสภาวะและสถานการณดานสิ่งแวดลอมและพลังงานที่
ถูกตอง ทําใหสามารถคิดวิเคราะห และสังเคราะหขอมูลขาวสารไดดวยตนเอง (2) กระตุนจิตสํานึก ใหเกิดการ
อนุรักษ พัฒนา ปกปอง และปรับตัวจากความรู ความเขาใจที่ถูกตอง จะทําใหเกิดการมองภาพรวมของพลังงาน
และผลกระทบของสิ่งแวดลอมไดโดยมีกิจกรรมหรือแผนงานที่สอดคลองและสามารถกระตุนจิตสํานึกใหมีการ
อนุรักษสิ่งแวดลอมและพลังงานของชาติอยางตอเนื่อง
1.4 ดานเทคโนโลยี
ความเปลี่ยนแปลงของเทคโนโลยีดิจิทัลกับการดํารงชีวิต นวัตกรรมและความกาวหนาของ
เทคโนโลยีดิจิทัลอยางกาวกระโดด กอใหเกิดการเปลี่ยนแปลงเทคโนโลยีอยางฉับพลัน ซึ่งนอกจากจะสงผล
กระทบตอระบบเศรษฐกิจแลว ยังสงผลกระทบตอการดํารงชีวิตของประชาชนในประเทศตาง ๆ ทั่วโลกที่ตอง
เผชิญกับเทคโนโลยีดิจิทัลในชีวิตประจําวันมากมาย ทั้งดานการเรียนการสอนในสถานศึกษา การจัดการ
ทรัพยากรธรรมชาติ การเดินทาง การใชขอมูลขาวสารเพื่อการบริหารและการจัดการ การทํางาน เทคโนโลยี
สารสนเทศจึงเกี่ยวของกับทุกเรื่องในชีวิตประจําวัน ดังนั้น จึงควรเรียนรูและเขาใจเกี่ยวกับเทคโนโลยีดิจิทัล
เพื่อใหรูเทาทันและนําไปใชใหเกิดประโยชนตอตนเอง สังคม และประเทศตอไป ในปจจุบันการพัฒนาวิทยาศาสตร
เทคโนโลยี และนวัตกรรม ไดกอใหเกิดกระแสการพัฒนารูปแบบใหมอยางตอเนื่อง ซึ่งจะมีการหลอมรวมของ
ศาสตรตางๆ เขาดวยกัน ทั้งนี้ ประเทศไทยยังขาดการเตรียมพรอมเขาสูยุคเศรษฐกิจในอนาคต ใหทันตอ
การเปลี่ยนแปลงของโลกและรองรับการแขงขันในอนาคต โดยยังขาดทั้งฐานความรู ความตระหนัก ขอมูลขาวสาร
บุคลากรการวิจัย โครงสรางพื้นฐาน และปจจัยเอื้อ จึงจําเปนตองเรงปรับตัวโดยสรางขีดความสามารถในการ
แขงขันของประเทศใหมีภูมิคุมกัน ยืดหยุน และรองรับกับการเปลี่ยนแปลงทางดานวิทยาศาสตร เทคโนโลยีและ
นวัตกรรมหลัก ทั้ง 4 สาขา ไดแก เทคโนโลยีชีวภาพ เทคโนโลยีวัสดุ เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร และนํา
เทคโนโลยี ที่มีการวิจัยและพัฒนาดานการวิจัยพื้นฐาน การวิจัยประยุกต การวิจัยเชิงทดลองอยางเปนระบบการ
เกิดนวัตกรรมแบบกาวกระโดด (Leapfrog Innovation) ความกาวหนาอยางรวดเร็วของเทคโนโลยีสารสนเทศ
และการสื่อสาร เทคโนโลยีชีวภาพ เทคโนโลยีวัสดุ และนาโนเทคโนโลยี จะสรางความเปลี่ยนแปลงทั้งดาน
เศรษฐกิจและสังคมทั้งในดานโอกาสและอุปสรรค ดังนั้น ประเทศไทยจึงจําเปนตองเตรียมพรอมใหทันตอการ
แผนพัฒนาการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย พ.ศ. 2560-2579 ของ สํานักงาน กศน.
4