Page 7 - แผนพัฒนา กศน.
P. 7
ยังเปดโอกาสในการพัฒนาและถายทอดวิทยาการและแหลงเทคโนโลยีสมัยใหม ขณะเดียวกันสังคมไทยยังขาด
ภูมิคุมกันในการบริโภคผานสื่อเทคโนโลยีและมีแนวโนมของการเปนสังคมวัตถุนิยมสูงขึ้นประชาชนมีความตื่นตัว
ทางการเมืองและใหความสําคัญกับความรับผิดชอบตอสังคม รวมทั้ง ความขัดแยงทางการเมือง ความไมสงบใน
จังหวัดชายแดนภาคใตยังคงอยู และสงผลตอเศรษฐกิจของประเทศการดํารงชีวิตของประชาชน และความเชื่อมั่น
ของนานาประเทศ รวมทั้งความสงบสุขของสังคมไทย ขณะที่ภาครัฐมีการเปลี่ยนแปลงในภาพรวมที่ดีขึ้น แตขีด
ความสามารถในการปองกันการทุจริตตองปรับปรุงจากการมีโครงสรางประชากรที่วัยสูงอายุเพิ่มขึ้น สงผลให
ประเทศไทยกาวสูสังคมผูสูงอายุ วัยเด็ก และวัยแรงงานลดลง คนไทยไดรับการพัฒนาศักยภาพทุกชวงวัย แตมี
ปญหาคุณภาพการศึกษาและระดับสติปญญาของเด็ก พฤติกรรมเสี่ยงตอสุขภาพ และผลิตภาพแรงงานต่ํา
ประชาชนไดรับการคุมครองทางสังคมเพิ่มขึ้นและมีการจัดสวัสดิการทางสังคมในหลายรูปแบบ แตกลุม
ผูดอยโอกาสยังไมสามารถเขาถึงบริการทางสังคมไดอยางทั่วถึง ความเหลื่อมล้ําทางรายไดของประชากรและโอกาส
การเขาถึงทรัพยากรยังเปนปญหาตอการพัฒนาประเทศ สังคมไทยเผชิญวิกฤตความเสื่อมถอยดานคุณธรรมและ
จริยธรรม และมีการเปลี่ยนแปลงทางวัฒนธรรมที่หลากหลายรวมถึงเผชิญปญหาการแพรระบาดของยาเสพติด
และการเพิ่มขึ้นของการพนันโดยเฉพาะในกลุมเด็กและเยาวชนแนวโนมการพัฒนาคนในวัยทํางาน (ชวงอายุ
ระหวาง 15 – 59 ป) เพิ่มขึ้นอยางตอเนื่อง สําหรับการพัฒนาคุณภาพคนดานการศึกษามีการขยายตัวเชิงปริมาณ
อยางรวดเร็ว ระดับการศึกษาเฉลี่ยของคนไทยมีแนวโนมสูงขึ้น โดยจํานวนปการศึกษาเฉลี่ยของประชากรวัย 15 ป
ขึ้นไป เพิ่มขึ้นอยางตอเนื่องจาก 8.9 ป ในป 2552 เปน 10.00 ป ในป 2558 แตยังมีความเหลื่อมล้ําระหวางเมือง
กับชนบท การขยายโอกาสการเรียนรูตลอดชีวิตมีมากขึ้น แตความสามารถในการเรียนรูและการประยุกตใชความรู
เชื่อมโยงนําความรูไปปรับใชของคนไทยยังอยูในระดับต่ํา ดังนั้น คุณภาพการศึกษาจึงยังไมเพียงพอตอการปรับตัว
เทาทันการเปลี่ยนแปลงและเขาสูสังคมเศรษฐกิจฐานความรูซึ่งเปนประเด็นที่ตองใหความสําคัญอยางเรงดวน
1.2 ดานเศรษฐกิจ
การเปลี่ยนแปลงของบริบทเศรษฐกิจและสังคมโลกอันเนื่องจากการปฏิวัติดิจิทัล (Digital
Revolution) การเปลี่ยนแปลงสูอุตสาหกรรม 4.0 (The Fourth Industrial Revolution) การบรรลุขอตกลง
เปาหมายการพัฒนาแหงสหัสวรรษ 2558 (Millennium Development Goals : MDGs 2015) และเปาหมาย
การพัฒนาที่ยั่งยืนขององคการสหประชาชาติ 2573 (Sustainable Development Goals : SDGs 2030)
การเปดเสรีทางการคา บริการ แรงงาน การลงทุน และการเงิน โดยมีกลไกสําคัญ อาทิ เขตการคาเสรีอาเซียน
(ASEAN Free Trade Area : AFTA) เขตการลงทุนเสรี (ASEAN Investment Area : AIA) และความตองการ
กําลังคนที่มีทักษะในศตวรรษที่ 21 การเกิดประชาคมใหมจากการรวมตัวของกลุมเศรษฐกิจ (New Economic
Communities) ASEAN และ ASEAN+6 (จีน เกาหลีใต ญี่ปุน ออสเตรเลีย นิวซีแลนด และอินเดีย) การเคลื่อนยาย
เงินทุน สินคาและบริการ รวมทั้ง คนภายในกลุมประเทศสมาชิกจะมีความคลองตัวมากขึ้นในอนาคต ประกอบกับ
การกอตัวของเศรษฐกิจใหมที่มีจีนและอินเดียเปนตัวจักรสําคัญในการขับเคลื่อนเศรษฐกิจโลก สงผลใหประเทศ
แผนพัฒนาการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย พ.ศ. 2560-2579 ของ สํานักงาน กศน.
2