Page 11 - แผนพัฒนา กศน.
P. 11

วิวัฒนาการการกอการรายของโลกที่เชื่อมโยงถึงกัน ดังนั้น การศึกษาจะตองเขาไปมีบทบาทตอการเปนผูนําในการ

               แกปญหาวิกฤตการณ ดังกลาว
               1.6 ดานประชากร

                              ทุกประเทศตางใหความสําคัญกับการสาธารณสุขและการวางแผนครอบครัวของทั่วโลก

               โดยเฉพาะประเทศพัฒนาแลวและกําลังพัฒนา ประกอบกับความเจริญกาวหนาทางวิทยาศาสตรและการแพทย
               สงผลใหอัตราการเติบโตของประชากรโลกลดลง และเขาสูการเปลี่ยนแปลงสถานการณสังคมสูงวัยในประเทศไทย

               สํานักงานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแหงชาติไดประมาณการสัดสวนผูสูงวัยไววา

               ในป 2558 จะมีประชากรอายุ 60 ปขึ้นไป รอยละ 13.8 ซึ่งถือวาเปนการเขาสูสังคมสูงวัยอยางสมบูรณ (ประชากร
               อายุ 60 ปขึ้นไป รอยละ 14) และในป 2563 จะมีประชากรอายุ 60 ปขึ้นไปเพิ่มขึ้นเปนรอยละ 19.1 หรือเขาใกล

               สังคมสูงวัยระดับสูงสุด นอกจากนี้ประเทศไทยยังมีการลดลงของภาวะเจริญพันธุหรือการเกิดนอยลง จากขอมูล

               อัตราเจริญพันธุรวม พบวาจํานวนบุตรโดยเฉลี่ยตอสตรีหนึ่งคนตลอดชวงวัยเจริญพันธุไดลดลงเปนลําดับจาก 4.9
               คน ในป 2517 เหลือประมาณ 1.6 คน ในป 2556 และ 1.3 คน ในป 2576 สงผลใหประชากรวัยเด็กหรือ

               ประชากรวัยเรียนมีแนวโนมลดลงอยางตอเนื่อง การเปนสังคมสูงวัยสงผลใหอัตราการพึ่งพิงสูงขึ้น กลาวคือ
               วัยแรงงานตองแบกรับภาระการดูแลผูสูงวัยเพิ่มสูงขึ้น ดังนั้น การพัฒนาประเทศจึงตองวางแผนและพัฒนา

               ทรัพยากรมนุษยของประเทศใหมีทักษะและสมรรถนะสูง และปรับหลักสูตรการเรียนการสอนใหบูรณาการกับ

               การศึกษาและการเรียนรูตลอดชีวิต เพื่อพรอมรับการพัฒนาประเทศอยางตอเนื่องอัตราการเกิดที่ลดลงสงผลให
               จํานวนนักเรียนที่อยูในวัยเรียนมีแนวโนมลดลงอยางตอเนื่องทําใหสงผลกระทบตอการจัดการศึกษา และการ

               บริหารสถานศึกษา การวางแผนอัตรากําลังครู ผูบริหาร และบุคลากรทางการศึกษา การจัดหลักสูตร การจัดการเรียน
               การสอน การวัดและประเมินผล การบริหารจัดการหองเรียน การจัดโครงสรางพื้นฐาน ตลอดจนการบริหารจัดการ

               ทรัพยากรและการเงินเพื่อการศึกษาที่มีอยูใหเกิดประสิทธิภาพสูงสุด ดังนั้น จึงจําเปนตองใหความสําคัญกับการ

               เรียนรูตลอดชีวิตเพื่อรองรับสังคมผูสูงวัยตองสงเสริมและจัดการเรียนรูใหประชากรกลุมดังกลาว เกิดการเรียนรู
               ตลอดชีวิต และดึงศักยภาพของผูสูงวัยมาใชประโยชนใหมากขึ้น ขณะเดียวกันการเคลื่อนยายประชากรจากสังคม

               ชนบทเขาสูเมืองทั้งดานแรงงานและการศึกษาหรือการเคลื่อนยายแรงงานไปทํางานยังตางประเทศ ทํานองเดียวกับ

               การเคลื่อนยายของชาวตางชาติเขามาในประเทศไทยทั้งที่หลบหนีเขาเมืองและถูกกฎหมายและสวนใหญเปน
               แรงงานขามชาติที่ลวนแลวแตที่รัฐจะตองรับผิดชอบทั้งสิ้น ทั้งดานการแพทย สาธารณสุข และการศึกษา

               นอกจากนั้นการยายถิ่นของพอแมที่สวนใหญมักฝากบุตรหลานไวกับปูยาตายาย ในทางบวกเด็กจะไดรับการ
               ปลูกฝงเลี้ยงดูตามขนบธรรมเนียมประเพณีดั้งเดิม แตสวนหนึ่งในทางตรงขามเด็กกลุมหนึ่งขาดการดูแลอยางทั่วถึง

               อาจเปนเพราะความเจริญของผูปกครองที่วัยหางกันมาอาจตามไมทันเรื่องความคิด สังคม เทคโนโลยี ซึ่งเหลานี้

               การศึกษาจําเปนตองเตรียมการและเขาไปเยียวยา รวมทั้งจัดการศึกษารูปแบบใหมที่เขาถึงกลุมเด็กทุกประเภททั้ง
               ตางสัญชาติ กลุมเด็กที่ไมไดอยูกับบิดามารดา รวมทั้งการศึกษาสําหรับผูยายถิ่นฐานและไมมีทะเบียนราษฎร




                                                                        แผนพัฒนาการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย พ.ศ. 2560-2579 ของ สํานักงาน กศน.
                                                                                                               6
   6   7   8   9   10   11   12   13   14   15   16