Page 9 - Potential Jan - Jun 18.indd
P. 9

“คุมองเป็นระบบการเรียนที่สร้างทักษะและความชำานาญ   “การทำาซ ้ำาช่วยให้นักเรียนมีความชำานาญในเนื้อหาที่
                การฝกฝนสม่ำาเสมอช่วยสร้างกำาลังสมองให้แข็งแกร่ง   เรียนอย่างเพียงพอ ช่วยพัฒนาทักษะการทำางาน ความ
                จากการเป็นคุณครูคุมอง ดิฉันเรียนรู้ว่าเด็กแต่ละคนมี  เข้าใจ เพิ่มประสิทธิผลในการเรียนมากยิ่งขึ้น และยัง
                ความสามารถและนิสัยการทำางานที่ต่างกัน การทำาซ ้ำาจึง  สร้างแรงจูงใจและความมั่นใจในการทำาแบบฝกหัดด้วย
                ควรมีปริมาณที่ “พอเหมาะพอดี” ที่เด็กๆ สามารถทำาได้  ตนเอง ในการพิจารณาให้ “การทำาซ ้ำา” ที่พอเหมาะพอดี
                อย่างสบายและมั่นใจ การสังเกตและ             และไม่กระทบต่อแรงจูงใจในการเรียน
                ยอมรับศักยภาพของนักเรียนแต่ละคน             คุณครูจะคำานึงถึงความกระตือรือร้นโดย
                นั้นจำาเป็นต่อการประเมินว่านักเรียน         ใช้เวลามาตรฐานในการทำาแบบฝกหัด
                ควรได้รับการทำาซ ้ำาหรือไม่”                ประกอบกับการสังเกตพฤติกรรมการ
                                                            เรียน รวมทั้งสื่อสารกับนักเรียนอย่าง
                     คุณ Haslinda Che Ismail                สม่ำาเสมอ”  คุณ ภัทรมน ศรีสุรพล
                           (คุมอง มาเลเซีย)                           (คุมอง ประเทศไทย)




               “การทำาซ ้ำาเป็นหนึ่งในลักษณะเด่นของระบบคุมองที่ดิฉันชอบมาก
               ที่สุด เพราะเด็กแต่ละคนแตกต่างกัน แผนการเรียนจึงต้องได้รับ  “ในระบบคุมอง การทำาซ ้ำาจำาเป็นต่อการสร้าง
               การออกแบบให้พอดีกับความสามารถของเด็กแต่ละคน การให้  ความชำานาญในจุดประสงค์การเรียนรู้ ไม่ใช่
               การทำาซ ้ำาต้องพิจารณาแผนการเรียนอย่างรอบคอบเพื่อช่วยให้  ทุกคนที่จะมีทักษะหรือโชคดีพอที่จะได้ 100
               นักเรียนเรียนก้าวหน้าได้ราบรื่นและพึ่งพาตนเองได้ การทำาซ ้ำา  คะแนนเต็มและทำาแบบฝกหัดเสร็จภายในเวลา
               เป็นโอกาสดีที่เราจะได้สังเกตลักษณะการทำางานของนักเรียน  ที่กำาหนดในการทำาครั้งแรก โดยเฉพาะเมื่อ
               ในห้องเรียนเพิ่มเติม เช่นเดียวกับการที่เราได้เรียนรู้อุปนิสัยของ  ทำาเนื้อหาที่เกินชั้นเรียน การทำาซ ้ำาเป็นการให้
                     นักเรียนและผู้ปกครองมากขึ้น เมื่อมีโอกาสเราควร   โอกาสนักเรียนได้พยายามอีกครั้ง เพื่อฝกฝน
                      สื่อสารกับผู้ปกครองเพื่อสร้างความเข้าใจที่ถูกต้อง   ทักษะที่จำาเป็นในการทำาแบบฝกหัดให้ถูกต้อง
                      เกี่ยวกับการทำาซ ้ำา ส่วนในห้องเรียน คุณครูก็ควรช่วย  รวดเร็ว และในที่สุดเขาก็จะพูด
                       ให้นักเรียนรู้สึกดีกับการทำาซ ้ำาค่ะ”     ว่า “ฉันทำาได้แล้ว””


                               คุณ Ibu  Dina                            คุณ Ria Munar
                               (คุมอง อินโดนีเซีย)                     (คุมอง ฟิลิปปินส์)




               “ตองทําชุดนี้อีกแลวเหรอครับ” นี่คือปฏิกิริยาของ  “ระบบคุมองมีเป้าหมายมากกว่าการให้นักเรียน
               นักเรียนเมื่อผมให้ทำาแบบฝกหัดซ ้ำา การเรียนก็เหมือน  “รู้” และ “เขาใจ” วิธีการทำาแบบฝกหัด แต่เป็น
               การเล่นกีฬาหรือดนตรี ความชำานาญเกิดจากการฝกฝน  การสร้าง “ความชํานาญ” หากนักเรียนไม่ผ่าน
               เป็นประจำาทุกวันจนเป็นจิตใต้สำานึก เช่นเดียวกับการ  เกณฑ์ “เวลา” และ “ความถูกตอง” เราจึงจะ
               ฝกฝนทำาแบบฝกหัด เมื่อเกิดความชำานาญนักเรียนก็จะ  พิจารณาให้ทำาซ ้ำาที่เหมาะสมกับพวกเขา ทำาให้พวก
               สามารถหาคำาตอบได้อย่างถูกต้องรวดเร็ว เกิดเป็นความ  เขาเห็นพัฒนาการของตนเองชัดเจนขึ้น  ผลที่ได้คือ
               มั่นใจที่จะเรียนรู้เนื้อหาที่ยากขึ้นและความสามารถใน  ความชำานาญที่ทำาให้เรียนเนื้อหาถัดไปได้ราบรื่น ยิ่ง
               การแก้ปญหาซับซ้อน รวมทั้งพื้นฐานที่                    กว่านั้น การทำาซ ้ำายังเป็นการฝกให้
               เเข็งเเกร่งในการ “คิดนอกกรอบ””                          นักเรียนพยายามทำาแบบฝกหัดด้วย
                                                                       ตัวเอง”



                        คุณ Yang Waye                                         คุณ Phan Thi Ni Na
                         (คุมอง สิงคโปร์)                                     (คุมอง เวียดนาม)
                                                                                                   7 9 9
   4   5   6   7   8   9   10   11   12