Page 8 - Potential Jan - Jun 18.indd
P. 8
Feature
จากใจ
คุณครูคุมอง
“คุณครูให้การทำาซ ้ำาเพื่อให้เด็กๆ ได้ค้นพบช่วง “การเป็นคุณครูคุมองทำาให้ดิฉันเห็นเด็กๆ หลาย
เวลาที่พวกเขา “เรียนรู้ได้ด้วยตนเอง” ซึ่งเป็น คนเปลี่ยนจากกลัวคณิตศาสตร์และภาษาอังกฤษ
กระบวนการที่เกิดขึ้นเวลาที่เราเรียนรู้สิ่งต่างๆ โดย กลายเป็นชอบทำาแบบฝกหัดคุมองและมีผลการ
เฉพาะเนื้อหาใหม่ๆ สำาหรับเด็ก การทำาซ ้ำาเปรียบ เรียนดีขึ้น ดิฉันตระหนักถึงความสำาคัญของ
เหมือนจุดลางๆ ที่กลายเป็นเส้นชัดเจน วิธีนี้ทำาให้ “ความพอเหมาะพอดี” และผลต่อความมั่นใจของ
การเชื่อมโยงของสมองแข็งแกร่งขึ้น หากคุณครู เด็ก การได้เห็นเด็กขี้อายกลายเป็นเด็กที่มั่นใจและ
วางแผนให้การทำาซ ้ำาเป็นอย่างดี พึ่งพาตนเองได้และดิฉันเองได้เป็นส่วนหนึ่งของการ
แบบฝกหัดชุดนั้นก็มักจะเป็นชุดที่ เปลี่ยนแปลงนี้ถือเป็นช่วงเวลาที่มี
เด็กๆ ได้สัมผัสถึงความสำาเร็จของ ค่าที่สุดในการทำางานของดิฉันค่ะ”
ตนเอง”
คุณ Yasmin Kamal คุณ Navatha Meka
(คุมอง ออสเตรเลีย) (คุมอง อินเดีย)
“โดยส่วนตัว ดิฉันไม่ค่อยชอบคำาว่า “การทำาซ ้ำา” เพราะคนทั่วไปมักจะเข้าใจผิด บ่อยครั้งที่ดิฉันได้ยินคุณครูที่
โรงเรียนเตือนผู้ปกครองเกี่ยวกับการเรียนคุมองเพียงเพราะพวกเขาคิดว่าคุมองเป็นการเรียนแบบท่องจำาและทำาให้เด็กๆ
ไม่ชอบวิชาคณิตศาสตร์
ความงดงามของระบบการเรียนแบบคุมองคือ การออกแบบแผนการเรียนที่พอเหมาะพอดีกับเด็กแต่ละคน ด้วยการ
ค้นหาความสามารถด้านการเรียนของเด็ก ความคาดหวังของผู้ปกครอง และทำางานร่วมกันเพื่อให้บรรลุเป้าหมายการ
เรียนที่วางไว้ เมื่อเด็กมีความมั่นใจ เราก็พร้อมที่จะให้พวกเขาทำาสิ่งที่ท้าทายยิ่งขึ้น แต่ถ้าพวกเขาขาดความ
มั่นใจ เราก็สามารถปรับแผนการเรียนให้ช้าลงเพื่อให้พวกเขาเกิดความมั่นใจด้วยการฝกฝนและมีกำาลัง
เพียงพอที่จะก้าวไปเรียนเนื้อหาใหม่ เมื่อคุณครูคุมองและผู้ปกครองมีเป้าหมายร่วมกัน เด็กๆ จึงจะได้
รับประโยชน์จากการเรียนคุมอง ด้วยเหตุนี้การสื่อสารระหว่างนักเรียน ผู้ปกครอง และคุณครูจึงเป็น
กุญแจสำาคัญของการเรียนก้าวหน้าอย่างราบรื่น”
คุณ Caley Lim
(คุมอง บรูไน)
8 8