Page 74 - วารสาร สช มค-มีค 61(new)
P. 74

ง�นวิจัย              โดย  พรนภัส ประเสริฐไทยเจริญ
                                      นักวิชาการสาธารณสุขช�านาญการพิเศษ





                 รูปแบบการด�าเนินงานต�าบลจัดการสุขภาพแบบบูรณาการ 5 กลุ่มวัย
                                      โดยการมีส่วนร่วมของชุมชน
                           ต�าบลนาเรือง อ�าเภอนาเยีย จังหวัดอุบลราชธานี




                    การวิจัยครั้งนี้เป็นการวิจัยเชิงปฏิบัติการ มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษารูปแบบการด�าเนินงานต�าบลจัดการ
            สุขภาพแบบบูรณาการ 5 กลุ่มวัย โดยการมีส่วนร่วมของชุมชนต�าบลนาเรือง อ�าเภอนาเยีย จังหวัดอุบลราชธานี
            ประยุกต์ ใช้แนวคิดการวิจัยเชิงปฏิบัติการ คัดเลือกกลุ่มตัวอย่างจากกลุ่มผู้น�าชุมชนใน 3 กลุ่ม ประกอบด้วย
            ภาคท้องถิ่น ภาครัฐ และภาคประชาชน  จ�านวน 9 หมู่บ้าน หมู่บ้านละ 10 คน จ�านวน 90 คน  เก็บรวบรวม
            ข้อมูลระหว่างเดือนตุลาคม 2559 ถึง มิถุนายน 2560 โดยการศึกษาสถานการณ์ การสัมภาษณ์แบบเจาะลึก
            การสนทนากลุ่ม การสังเกตแบบมีส่วนร่วม และแบบสอบถาม วิเคราะห์ข้อมูลเชิงปริมาณโดยการแจกแจง
            ความถี่ ร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐานและการทดสอบค่าที (t–test)  วิเคราะห์ข้อมูลเชิงคุณภาพ

            ด้วยหลักสามเส้า

                    ผลการศึกษาพบว่า รูปแบบด�าเนินงานต�าบลจัดการสุขภาพแบบบูรณาการ 5 กลุ่มวัย โดยการมีส่วน
            ร่วมของชุมชน  ต�าบลนาเรือง อ�าเภอนาเยีย จังหวัดอุบลราชธานี มี 7 ขั้นตอน ได้แก่ 1) การเรียนรู้และมีส่วน
            ร่วมการวิเคราะห์ปัญหาและวางแผนแก้ไขปัญหา 2) การจัดการและการวางแผนกลยุทธ์แบบมีส่วนร่วม 3) การ
            พัฒนาศักยภาพเพิ่มขีดความสามารถแกนน�าสุขภาพ 4) การสร้างและพัฒนาเครือข่าย 5) การสร้างพลังอ�านาจ
            ในชุมชนโดยการร่วมแรงร่วมใจ 6) การสร้างระบบสื่อสารสุขภาพ 7) การเฝ้าระวังพฤติกรรมสุขภาพในชุมชน
            กระบวนการดังกล่าวท�าให้แกนน�าสุขภาพ มีการเปลี่ยนแปลงด้านความรู้และการมีส่วนร่วมก่อนและหลังแตก

            ต่างกันอย่างมีนัยส�าคัญทางสถิติ (p<0.05)

                    โดยสรุป การด�าเนินงานต�าบลจัดการสุขภาพแบบบูรณาการ 5 กลุ่มวัย โดยการมีส่วนร่วมของชุมชน
            ส่งผลให้แกนน�าสุขภาพมีความรู้และมีส่วนร่วมในการด�าเนินงานต�าบลจัดการสุขภาพมากขึ้น ซึ่งมีปัจจัยแห่ง
            ความส�าเร็จคือ  การเสริมสร้างความรู้ การพัฒนาขีดความสามารถของแกนน�าสุขภาพชุมชนและการมีส่วนร่วม
            เพื่อพัฒนาเป็นต�าบลจัดการสุขภาพที่ยั่งยืนต่อไป




            ค�ำส�ำคัญ : การมีส่วนร่วม, ต�าบลจัดการสุขภาพแบบบูรณาการ 5 กลุ่มวัย










          72
                   วารสารสุขภาพภาคประชาชน
   69   70   71   72   73   74   75   76   77   78   79