Page 106 - หนังสือเรียน ภาษาไทย พท.21001
P. 106
106 | ห น า
เหตุการณประจําวัน ทั้งนี้ผูเขียนควรมีความรู และความเขาใจเรื่องที่ตนจะแสดงความคิดเห็นเปน
อยางดี เพื่อจะแสดงความคิดเห็นไดอยางลึกซึ้ง
2. การใหขอเท็จจริง ขอมูลที่เลือกมานั้น จะตองมีรายละเอียดตางๆ เชน ที่มาของเรื่อง
ความสําคัญและเหตุการณ เปนตน
3. แสดงความคิดเห็น ผูเขียนอาจแสดงความคิดเห็นตอเรื่องที่จะเขียนได 4 ลักษณะ คือ
3.1 การแสดงความคิดเห็นในลักษณะตั้งขอสังเกต
3.2 การแสดงความคิดเห็น เพื่อสนับสนุน ขอเท็จจริง
3.3 การแสดงความคิดเห็น เพื่อโตแยง ขอเท็จจริง
3.4 การแสดงความคิดเห็นเพื่อประเมินคา
4. การเรียบเรียง
4.1 การตั้งชื่อ ควรตั้งชื่อเรื่องใหเราความสนใจผูอาน และสอดคลองกับเนื้อหาที่จะ
เขียน
4.2 การเปดเรื่อง ควรเปดเรื่องใหนาสนใจชวนใหผูอานติดตามเรื่องตอไป
4.3 การลําดับเรื่อง ควรลําดับใหมีความตอเนื่องสอดคลองกันตั้งแตตนจนจบ
ไมเขียนวกไปวนมา
4.4 การปดเรื่อง ใชหลักการเดียวกับการเขียนสรุปและควรปดเรื่องใหผูอานประทับใจ
5. การใชภาษา ควรใชภาษาอยางสละสลวย ชัดเจน ไมเยิ่นเยอ ใชสํานวนโวหารอยาง
เหมาะสมกับเรื่อง ใชถอยคําที่สื่อสารความหมายไดตรงตามอารมณ และความรูสึกของผูเขียน ทั้งนี้
พึงหลีกเลี่ยงการใชถอยคําที่แสดงอารมณรุนแรง และควรใชถอยคําในเชิงสรางสรรคดวย
การเขียนโตแยง
การเขียนโตแยง เปนการเขียนแสดงความคิดเห็นลักษณะหนึ่ง โดยมุงที่จะโตแยงขอเท็จจริง
หรือเหตุการณที่เกิดขึ้น ตลอดจนโตแยงความคิดของผูอื่นดวยความคิดเห็นในการสรางสรรค
วิธีการเขียนโตแยง ตองตั้งประเด็นวาจะโตแยงในเรื่องใดก็ชี้ใหเห็นจุดดอยของเรื่องที่จะ
โตแยงนั้น พรอมทั้งหาเหตุผลมาสนับสนุนความคิดของตนแลวเรียบเรียงใหเปนภาษาของตนที่เขาใจ
งาย และใชคําที่มีพลังในการกระตุนใหเกิดความคิดเห็นคลอยตาม
ขอควรระวังในการเขียนโตแยง ไมควรเขียนใหเกิดความแตกแยก ควรใชเหตุผล และควร
เขียนเชิงสรางสรรค
มารยาทในการเขียนโตแยง ตองจริงใจ ใชภาษาสุภาพ