Page 110 - หนังสือเรียน ภาษาไทย พท.21001
P. 110

110 | ห น า



                         2.  การสรางความเปนพวกเดียวกัน  การเขียนโฆษณาวิธีนี้นิยมใชคําวา  “เรา”   เพื่อสราง
                  ความรูสึกวาเปนพวกเดียวกัน  เชน  “เราหวงใยดวงใจดวงนอยของทาน”  “เราสามารถชวยทานได”

                         3.การสรางความกลัว   การเขียนโฆษณาวิธีนี้ใชไดผลกับผูบริโภคที่ไมมีความมั่นใจตนเอง

                  และหวั่นเกรงเหตุการณในอนาคต  เชน  “ระวัง  ยาลดความอวนที่ทานใชอยู”  “คุณกําลังตกอยูใน
                  อันตราย”  “บุตรหลานของทานอยูทามกลางพิษภัยของโรคไขหวัดนก”

                         4.  การเนนความเปนชาตินิยม   การเขียนโฆษณาวิธีนี้เปนการสรางความรูสึกรักชาติให

                  เกิดขึ้นในสํานึกผูบริโภค  เชน  “ไทยทํา  ไทยใช  ไทยเจริญ” “ใชสินคาไทย  เงินตราไมรั่วไหล ไป

                  ตางประเทศ”
                         5.  การใชอิทธิพลของกลุม   การโฆษณาวิธีนี้ใชหลักธรรมชาติของมนุษย   ซึ่งนิยมทําตาม

                  อยางกันมาเปนจุดโฆษณา  เชน “ใครๆ ก็นิยมใช.....” “ทุกสังคมตางชื่นชอบ....”  “นางงาม 9 ใน 10

                  คนใช....”
                         6.  การปดบังบางสวน   การเขียนโฆษณาวิธีนี้จะไมแจงความจริงทั้งหมด   ภาษาที่ใชมี

                  ลักษณะไมชัดเจนตองใหผูบริโภคเขาใจเอาเอง   เชน   “สบายไปลานเจ็ดเคล็ดลับในการดูแลบาน”

                  “ดาวนนอยผอนนาน”
                         7.  การเนนประสาทสัมผัส การเขียนโฆษณาวิธีนี้ใชหลักธรรมชาติของมนุษยที่พอใจในรูป

                  รส

                  กลิ่น เสียง และสัมผัส จึงใชถอยคําที่สื่อความหมายเกี่ยวกับประสาทสัมผัสซึ่งสวนใหญเปนคํากริยา
                  หรือคําวิเศษณ  เชน “เครื่องดื่มคนรุนใหม สดใส ซาบซา” “เพียงคําเดียว เคี้ยวเพลินใจ

                         8.  การใชคําภาษาตางประเทศ    การเขียนโฆษณาวิธีใชหลักการตอบสนองคานิยมของคน

                  ไทยที่นิยมใชภาษาตางประเทศในการสื่อสาร  จึงนําคําภาษาตางประเทศมาใชเขียนคําโฆษณา  เชน

                  “สกินโลชั่น  เบา นุม ขาว บริสุทธิ์”  “แปงเด็กสูตรผสมมิลคโปรตีน”
                         9.  การใชภาษาแสลง  หรือภาษาปาก  การเขียนโฆษณาวิธีนี้  เปนการนําภาษาแสดงหรือ

                  ภาษาปาก  ซึ่งผูใชสินคากลุมนี้นิยมใชเพื่อสรางความรูสึกคุนเคย  วางใจ  เชน  “หรอยยังไง  ไปชิม

                  เอง” “จะปวดเฮดทําไม ใชบริการเราดีกวา

                         10.  การกลาวเกินจริง    การโฆษณาวิธีนี้เนนความสนใจโดยไมคํานึงถึงหลักความจริงและ
                  ผูบริโภคสวนใหญก็ยอมรับสินคานั้น   โดยไมพยายามไตรตรองวาความเปนจริงเปนอยางไร  เชน

                  “คุณภาพลานเปอรเซ็นต” “น้ําหอมที่หอมจนเทวดาตามตื้อ”

                         นอกจากนี้   ยังพบวาภาษาโฆษณานิยมใชคําคลองจองและคําสั้นๆ  ที่สื่อความหมายชัดเจน
                  เพื่อใหผูบริโภคจําสินคาไดขึ้นใจและนิยมใชสินคาชนิดนั้น
   105   106   107   108   109   110   111   112   113   114   115