Page 163 - หนังสือเรียน ภาษาไทย พท.21001
P. 163
ห น า | 163
คําลักษณะนาม ลักษณะนามเพื่อยกยอง เชน อาจารย 5 ทาน แทนคําวา คน
ลักษณะนามเพื่อใหสุภาพ เชน ไข 4 ฟอง แทนคําวา ลูก
ผลไม 5 ผล แทนคําวา ลูก
เรื่องที่ 6 การใชสํานวน สุภาษิต คําพังเพย
คนไทยนิยมใชภาษาถอยคําสํานวนที่สละสลวย ไพเราะ เสนาะหู และสะดวกแกการออก
เสียงลักษณะนิสัยคนไทยเปนคนเจาบทเจากลอนอยูแลว เวลาพูดหรือเขียนจึงนิยมใชถอยคําสํานวน
ปนอยูเสมอถอยคําสํานวนตางๆ เหลานี้ชวยใหการสื่อสารความหมายชัดเจน ไดความไพเราะ
ถายทอดอารมณความรูสึกตางๆ ไดดี บางครั้งใชเปนการสื่อสารความหมายเพื่อเปรียบเปรยไดอยาง
คมคายลึกซึ้ง เหมาะสมกับวัฒนธรรมความเปนอยูของคนไทย ซึ่งแสดงถึงอัธยาศัยที่ดีตอคนอื่นเปน
พื้นฐาน
ประเภทของถอยคําสํานวน
1. ถอยคําสํานวน เปนสํานวนคําที่เกิดจากการผสมคําแลวเกิดเปนคําใหม เชน คําผสม คํา
ซอน หรือคําที่เกิดจากการผสมคําหลายคํา ผสมกันเปนลักษณะสัมผัส คลองจอง มีความหมายไม
แปลตรงตามรูปศัพท แตมีความหมายในเชิงอุปไมย เชน
ไกออน หมายถึง คนที่ยังไมชํานาญในชั้นเชิง
กิ่งทองใบหยก หมายถึง ความเหมาะสมของคูกันนั้นมีมาก