Page 166 - หนังสือเรียน ภาษาไทย พท.21001
P. 166

166 | ห น า



                   กระเชอกนรั่ว                       เปนคนสุรุยสุราย

                   กลานักมักบิ่น                      คนที่อวดเกงกลาจนเกินไปจนอับจนสักวัน

                   ขี่ชางจับตั๊กแตน                   ลงทุนไมคุมกับผลที่ได

                   ทําบุญเอาหนา  ภาวนากันตาย          ทําอะไรเพื่อเอาหนา  ไมทําดวยใจจริง
                   หักดามพราดวยเขา                 ทําอะไรโดยพลการ

                   รําไมดีโทษปโทษกลอง               ทําไมดีแตโทษผูอื่น

                   นายพึ่งบาว  เจาพึ่งขา            ทุกคนตองพึ่งพาอาศัยกัน
                   ชาดไมดี  ทาสีไมแดง                สันดานคนไมดี  แกอยางไรก็ไมดี

                   ไมงามกระรอกเจาะ                    หญิงสวยที่มีมลทิน

                   มือไมพายเอาเทาราน้ํา              ไมชวยแลวยังกีดขวาง
                   ฟนฝอยหาตะเข็บ                     ฟนเรื่องเกามาเลาอีก


                   หุงขาวประชดหมา  ปงปลาประชดแมว  แกลงทําแดกดันโดยอีกฝายหนึ่งไมเดือดรอน




                  ตัวอยางการนําคําพังเพยไปใชในความหมายเปรียบเทียบ

                         เมื่อกอนนี้ดูไมคอยสวย เดี๋ยวนี้แตงตัวสวยมากนี่แหละ  ไกงามเพราะขน  คนงานเพราะแตง

                         เจามันฐานะต่ําตอยจะไปรักลูกสาวคนรวยไดยังไง  ตักน้ําใสกะโหลกชะโงกดูเงา ตนเองเสีย
                  บาง

                         เราอยาไปทําอะไรแขงกับเขาเลย เขากับเราไมเหมือนกัน  อยาเห็นชางขี้ขี้ตามชาง

                  แหม...ฉันวาฉันหนีจากเพื่อนเกาที่เลวแลวมาเจอเพื่อนใหมก็พอๆ กัน  มันเขาตํารา หนีเสือปะจระเข
                         เขาชอบถวงความเจริญของหมูคณะอยูเรื่อย แถมยังขัดขวางคนอื่นอีก  นี่แหละ  คนมือไมพาย

                  เอาเทาราน้ํา



                         3.  อุปมาอุปไมย  หมายถึง  ถอยคําที่เปนสํานวนพวกหนึ่ง  กลาวทํานองเปรียบเทียบใหเห็น

                  จริงเขาใจแจมแจงชัดเจน และสละสลวยนาฟงมากขึ้น  การพูดหรือการเขียนนิยมหาคําอุปมาอุปไมย
                  มาเติมใหไดความชัดเจนเกิดภาพพจน เขาใจงาย เชน  คนดุ  หากตองการใหความหมายชัดเจน  นาฟง

                  และเกิดภาพพจนชัดเจนก็ตองอุปมาอุปไมยวา               “ดุ       เหมือน         เสือ”

                  ขรุขระมาก   การสื่อความยังไมชัดเจนไมเห็นภาพ  ตองอุปมาอุปไมยวา  “ขรุขระเหมือนผิวมะกรูด”

                  หรือ  “ขรุขระเหมือนผิวพระจันทร”  ก็จะทําใหเขาใจความหมายในรูปธรรมชัดเจนมากยิ่งขึ้น
   161   162   163   164   165   166   167   168   169   170   171