Page 170 - หนังสือเรียน ภาษาไทย พท.21001
P. 170

170 | ห น า






                  ลักษณะคําประพันธ


                         1.  บท  บทหนึ่งมี 4 วรรค แบงเปนวรรคแรก 5 คํา วรรคหลัง 6 คํา รวม 11  คํา  จึงเรียก  ยานี

                  11

                         2.  สัมผัส

                           ก.  สัมผัสนอก  หรือสัมผัสระหวางวรรค  อันเปนสัมผัสบังคับ  มีดังนี้
                  คําสุดทายของวรรคแรกวรรคที่หนึ่ง  วรรคสดับ  สัมผัสกับคําที่สามของวรรคหลังวรรค

                  ที่สอง  วรรครับ


                         คําสุดทายของวรรคที่สอง  วรรครับ  สัมผัสกับคําสุดทายของวรรคที่สาม  วรรครองดูแผนผัง

                  และตัวอยาง

                         ถาจะแตงบทตอไปตองมีสัมผัสระหวางบท
                         สัมผัสระหวางบท  ของกาพยยานี  คือ

                         คําสุดทายของวรรคสี่  วรรคสง  เปนคําสงสัมผัสบังคับใหบทตอไปตองรับสัมผัสที่คําสุดทาย

                  ของวรรคสอง  วรรครับ  ดังตัวอยาง

                                 ยานีมีลํานํา         สัมผัสคําสัมผัสใจ
                         วรรคหนาหาคําใช            วรรคหลังนี้มีหกคํา

                                 หนึ่งบทมีสี่วรรค     พึงประจักษเปนหลักจํา

                         จังหวะและลํานํา              กาพยยานีดังนี้เทอญฯ


                         คําสุดทายของบทตน   คือคําวา   “คํา”   สงสัมผัสไปยังบทถัดไป   บังคับใหรับสัมผัสที่คํา

                  สุดทายของวรรคสองหรือวรรครับ  ในที่นี้คือคําวา  “จํา”

                         ข.  สัมผัสใน  แตละวรรคของกาพยยานีจะแบงชวงจังหวะเปนดังนี้

                           วรรคแรก  เปน       สองคํากับสามคํา  คือ  หนึ่งสอง  หนึ่งสองสาม
                           วรรคหลัง  เปน      สามคํากับสามคํา  คือ  หนึ่งสองสาม  หนึ่งสองสาม

                           ฉะนั้น  สัมผัสในจึงกําหนดไดตามชวงจังหวะของแตละวรรคนั่นเอง  ดังตัวอยาง

                           ยานี – มีลํานํา            สัมผัสคํา – สัมผัสใจ

                  ขอสังเกต
   165   166   167   168   169   170   171   172   173   174   175