Page 175 - หนังสือเรียน ภาษาไทย พท.21001
P. 175
ห น า | 175
1. บท บทหนึ่งมี 4 วรรค
วรรคที่หนึ่งเรียกวรรคสดับ วรรคที่สองเรียกวรรครับ
วรรคที่สามเรียกวรรครอง วรรคที่สี่เรียกวรรคสง
แตละวรรคมีแปดคํา จึงเรียกวา กลอนแปด
2. เสียงคํา กลอนแปดและกลอนทุกประเภทจะกําหนดเสียงคําทายวรรคเปนสําคัญ โดย
กําหนดดังนี้
คําทายวรรคสดับ กําหนดใหใชไดทุกเสียง
คําทายวรรครับ กําหนดหามใชเสียงสามัญและตรี
คําทายวรรครอง กําหนดใหใชเฉพาะเสียงสามัญและตรี
คําทายวรรคสง กําหนดใหใชเฉพาะเสียงสามัญและตรี
3. สัมผัส
ก. สัมผัสนอก หรือสัมผัสระหวางวรรค อันเปนสัมผัสบังคับ มีดังนี้
คําสุดทายของวรรคที่หนึ่ง วรรคสดับ สัมผัสกับคําที่สามหรือที่หาของวรรคที่สอง
วรรครับ
คําสุดทายของวรรคที่สอง วรรครับ สัมผัสกับคําสุดทายของวรรคที่สาม วรรครอง และที่
สามหรือที่หาของวรรคที่สี่ วรรครับ
สัมผัสระหวางบท ของกลอนแปด คือ
คําสุดทายของวรรคที่สี่ วรรคสง เปนคําสงสัมผัสบังคับใหบทตอไปตองรับสัมผัสที่คํา
สุดทายของวรรคที่สอง วรรคสง
อันกลอนแปดแปดคําประจําวรรค วางเปนหลักอักษรสุนทรศรี
เสียงทายวรรคสูงต่ําจําจงดี สัมผัสมีนอกในไพเราะรู
จัดจังหวะจะโคนใหยลแยบ ถือเปนแบบอยางกลอนสุนทรภู
อานเขียนคลองทองจําตามแบบครู ไดเชิดชูบูชาภาษาไทยฯ
คําสุดทายของบทตนในที่นี้คือคําวา “รู” เปนคําสงสัมผัส บังคับใหบทถัดไปตองรับ
สัมผัสที่คําสุดทายของวรรคที่สอง วรรครับ ในที่นี้คือคําวา “ภู”
ข. สัมผัสใน แตละวรรคของกลอนแปด แบงชวงจังหวะออกเปนสามชวง ดังน ี้
หนึ่งสองสาม หนึ่งสอง หนึ่งสองสาม
ฉะนั้น สัมผัสในจึงกําหนดไดตามชวงจังหวะในแตละวรรคนั่นเอง ดังตัวอยาง
อันกลอนแปด – แปด คํา – ประจําวรรค
วางเปนหลัก – อัก ษร – สุนทรศรี