Page 171 - หนังสือเรียน ภาษาไทย พท.21001
P. 171

ห น า  | 171


                         กาพยยานีไมเครงสัมผัสในจะมีหรือไมมีก็ได ขอเพียงใชคําที่อานแลวราบรื่นตามชวงจังหวะ

                  ของแตละวรรคนั้นๆ เทานั้น  สวนสัมผัสนอกระหวางวรรคที่สาม  วรรครอง กับวรรคที่สี่  วรรคสง

                  นั้นจะมีหรือไมมีก็ไดไมบังคับเชนกัน



                  2. กาพยฉบัง  16


                  แผนผัง
















                  ตัวอยาง
                              กาพยนี้มีนามฉบัง             สามวรรคระวัง

                         จังหวะจะโคนโยนคําฯ




                  ลักษณะคําประพันธ

                         1.  บท

                           บทหนึ่งมี  3  วรรค  อาจเรียกวาวรรคสดับ  วรรครับ  วรรคสง  ก็ได  แบงเปน

                           วรรคแรก  วรรคสดับ  มี  6  คํา  วรรคที่สอง  วรรครับ  มี  4  คํา

                           วรรคที่  3  วรรคสง  มี  6  คํา
                           รวมทั้งหมด  16  คํา  จึงเรียกฉบัง  16

                         2.  สัมผัส

                           ก.  สัมผัสนอก  หรือสัมผัสระหวางวรรค  อันเปนสัมผัสบังคับ  ดังนี้
                           คําสุดทายของวรรคหนึ่ง  วรรคสดับ  สัมผัสกับคําสุดทายของวรรคสอง  วรรครับ  สัมผัส

                  ระหวางบท  ของกาพยฉบัง  คือ

                           คําสุดทายของวรรคสาม  วรรคสง  เปนคําสงสัมผัส  บังคับใหบทตอไปตองรับสัมผัสที่คํา

                  สุดทายของวรรคหนึ่ง  วรรคสดับ  ดังตัวอยาง
                                    กาพยมีนามฉบัง           สามวรรคระวัง
   166   167   168   169   170   171   172   173   174   175   176