Page 172 - หนังสือเรียน ภาษาไทย พท.21001
P. 172

172 | ห น า



                           จังหวะจะโคนโยนคํา
                                    สัมผัสจัดบทลํานํา        กําหนดจดจํา

                           หกคําสี่คําดังนี้ ฯ

                           ข.  สัมผัสใน  แตละวรรคของกาพยฉบัง  แบงชวงจังหวะเปนวรรคละสองคํา  ดังน ี้

                           หนึ่งสอง  หนึ่งสอง  หนึ่งสอง      หนึ่งสอง  หนึ่งสอง
                           หนึ่งสอง  หนึ่งสอง  หนึ่งสอง



                         ฉะนั้น  สัมผัสในกําหนดไดตามชวงจังหวะของแตละวรรคนั้นเอง  ดังตัวอยาง
                           กาพยนี้ – มีนาม  ฉบัง     สามวรรคระวัง

                           จังหวะ – จะ  โคน – โยนคํา



                  ขอสังเกต

                         กาพยฉบังไมเครงสัมผัสใน  จะมีหรือไมมีก็ได  ขอเพียงใชคําที่อานราบรื่นตามชวงจังหวะ
                  ของแตละวรรคนั้นๆ  เทานั้น

                         สวนสัมผัสนอกระหวางวรรคที่สอง  วรรครับ  กับวรรคที่สาม  วรรคสง  นั้น  จะมีหรือไมมีก็

                  ไดไมบังคับเชนกัน



                  การแตงกลอน


                         กลอน
                         คําประพันธรอยกรองประเภทกลอน   มีหลายแบบเรียกชื่อตางๆ กันไป   ตามลักษณะฉันท

                  ลักษณที่แตกตางกันนั้นๆ  เชน  กลอนสี่  กลอนหา  กลอนหก  กลอนแปด  และยังจําแนกออกไปตาม

                  ลีลาที่นําไปใชเชน  กลอนเพลงยาว  กลอนบทละคร  กลอนเสภา รวมถึงกลอนบทตางๆ  อีกดวย

                         ในที่นี้จะอธิบายเฉพาะกลอนหกและกลอนแปด  อันเปนกลอนที่นิยมแตงกันโดยทั่วไป
   167   168   169   170   171   172   173   174   175   176   177