Page 174 - หนังสือเรียน ภาษาไทย พท.21001
P. 174

174 | ห น า



                           คําสุดทายของวรรคที่สี่  วรรคสง  เปนคําสงสัมผัสบังคับใหบทตอไปตองรับสัมผัสที่คํา
                  สุดทายของวรรคที่สอง  วรรครับ  ตัวอยาง

                           กลอนหกหกคําร่ํารู                วางคูวางคําน้ําเสียง

                           ไพเราะเรื่อยร่ําจําเรียง          สําเนียงสูงต่ําคํากลอน
                           เรียงรอยถอยคําสัมผัส            จํารัสจําหลักอักษร

                           ทุกวรรคทุกบททุกตอน                คือถอยสุนทรกลอนกานทฯ

                         คําสุดทายของบทตนคือวา  กลอน  เปนคําสั่งสัมผัส  บังคับใหบทถัดไปตองรับสัมผัสที่คํา

                  สุดทายของวรรคดวยคําวา  “ ษร”  ตามตัวอยางนั้น
                           ข. สัมผัสใน  แตละวรรคของกลอนหก  แบงชวงจังหวะเปนวรรคสองคํา  ดังนี้

                  หนึ่งสอง  หนึ่งสอง  หนึ่งสอง

                             ฉะนั้น  สัมผัสในจึงกําหนดไดตามชวงจังหวะนั่นเอง  ดังตัวอยาง
                                 เรียงรอย ถอย คํา สัมผัส

                  ขอสังเกต

                         กลอนหกไมเครงสัมผัสในวรรคมากนัก  อาจยายที่สัมผัสจากคําที่สองไปคําที่สี่ได  หรือจะไม

                  สัมผัสสระเลย  ใชการเลนคําไปตามชวงจังหวะก็ได  ดังตัวอยาง  เชน  ทุกวรรคทุกบททุกตอน



                  2. กลอนแปด  (กลอนสุภาพ)


                  แผนผัง



















                  ตัวอยาง

                         อันกลอนแปดแปดคําประจําวรรค       วางเปนหลักอักษรสุนทรศรี

                         เสียงทายวรรคสูงต่ําจําจงดี      สัมผัสมีนอกในไพเราะรู ฯ

                  ลักษณะคําประพันธ
   169   170   171   172   173   174   175   176   177   178   179