Page 173 - หนังสือเรียน ภาษาไทย พท.21001
P. 173

ห น า  | 173






                         1.  กลอนหก

                  แผนผัง


















                  ตัวอยาง

                             กลอนหกหกคําร่ํารู                   วางคูวางคําน้ําเสียง

                             ไพเราะเรื่อยร่ําจําเรียง             สําเนียงสูงต่ําคํากลอนฯ

                  ลักษณะคําประพันธ


                         1.  บท  บทหนึ่งมี  4  วรรค

                                 วรรคที่หนึ่งเรียกวรรคสดับ        วรรคที่สองเรียกวรรครับ

                                 วรรคที่สามเรียกวรรครอง           วรรคที่สี่เรียกวรรคสง
                           แตละวรรคมี  6  คํา  จึงเรียกวา  กลอนหก

                         2.  เสียงคํา  กลอนทุกประเภทจะกําหนดเสียงคําทายวรรคเปนสําคัญ กําหนดไดดังนี้

                           คําทายวรรคสดับ     กําหนดใหใชไดทุกเสียง

                           คําทายวรรครับ      กําหนดหามใชเสียงสามัญกับตรี
                           คําทายวรรครอง      กําหนดใหใชเฉพาะเสียงสามัญกับตรี

                           คําทายวรรคสง      กําหนดใหใชเฉพาะเสียงสามัญกับตรี

                         3.  สัมผัส

                           ก.  สัมผัสนอก  หรือสัมผัสระหวางวรรค  อันเปนสัมผัสบังคับ มีดังนี้
                  คําสุดทายของวรรคที่หนึ่ง  วรรคสดับ  สัมผัสกับคําที่สองหรือที่สี่ของวรรคที่สองวรรครับ

                           คําสุดทายของวรรคที่สอง  วรรครับ  สัมผัสกับคําสุดทายของวรรคที่สาม  วรรครอง  และคํา

                  ที่สองหรือที่สี่ของวรรคที่สี่  วรรคสง
                           สัมผัสระหวางบท  ของกลอนทุกประเภท  คือ
   168   169   170   171   172   173   174   175   176   177   178