Page 7 - เทคนิคการทำทุเรียนนอกฤดูคุณภาพ
P. 7

-6-


               *ใบอ่อนชุดที่.2 จะท าดอก (ลงสาร) ต้องการให้ใบมีความพร้อมต่อการออกดอก ชาวสวนต้องด าเนินการให้ความ
        สมบูรณ์เพื่อให้ใบแก่เร็วและย้ายพลังงานจากใบมาเพื่อการสร้างตาดอกตามท้องกิ่ง โดยการปฏิบัติดังนี้
                       ทางดิน  ใส่ปุ๋ยดูโอไมโครแคลสูตร 4-24-24 +TE อัตราต้นละ 1-2 กก.+ ดูโอไมโครแคล 0.5-1 กก.

        (ซิลิก้า 25% + แคลเซียม 35% + แมกนีเซียม 2%) 2 ครั้ง หรือ 4-21-21 +TE (ซัลเฟต 100%) 1 ครั้ง ทุก 15-20 วัน , 2 ครั้ง
        ก่อนฉีดสาร และอีก 1 ครั้ง หลังฉีดสาร เทคนิคการสะสมอาหารรวดเร็วแนะน าปุ๋ยระบบน้ าดูโอเวอร์ซิสเต็มส์ 6-26-26+9.5S
                       ทางใบ  พ่นทางใบด้วยชุดดูโอแพลตตินั่ม (ชุดสะสมดอก) +ดูโอทรีซูก้า+ดูโอแมนเชสเตอร์ 0-60-20 2 ครั้ง
        ก่อนฉีดสาร 2 ครั้งหลังฉีดสาร

                       ด าเนินการไปจนเกิดการสร้างตาดอกตามท้องกิ่ง โดยจะเกิดกลุ่มตาดอกสีน้ าตาลอ่อนจากปลายกิ่งเข้าสู่กลาง
        กิ่งและเมื่อตาดอกเดินมาถึงต าแหน่งที่ต้องการไว้ผลและมีปริมาณเพียงพอแล้ว จึงเข้าด าเนินการต่อระยะที่ 2 คือ

               ระยะที่ 2 การส่งเสริมการออกดอกเพิ่มปริมาณการติดผลและรูปทรง
                       2.1 การส่งเสริมการออกดอกให้กลุ่มตาดอกออกมาได้พร้อม ๆ กัน และมีปริมาณมากพอ โดยการพ่นปัจจัยชัก

        ท าและเหนี่ยวน าให้ออกดอกที่ต าแหน่งใต้ใบภายในทรงพุ่มและตามท้องกิ่ง 2-3 ครั้ง ทุก 5-7 วัน ด้วยปัจจัยดังนี้
                       สูตร 1 ปุ๋ย 13-0-46 อัตรา 1-2 กก./น้ า 200 ลิตร + ชุดดูโอแพลตตินั่ม (ชุดเปิดตาดอก) อัตราการใช้เพิ่มขึ้น

        หากสภาพอากาศแปรปรวน
                       สูตร 2 หรือปุ๋ยดูโอโกลด์ 4-24-24 + โซโตมิกซ์+ดูโอฟาวเวอร์ + ดูโอแมนเชสเตอร์ 0-60-20 ในกรณีที่ตาดอก
        ยังไม่มากพอหรือใบยังไม่แก่ ควรเพิ่มธาตุอาหารแมก 3000 (แมกนีเซียมครีม 30%) ร่วมเข้าไปด้วย

               หมายเหตุ  การพ่นปัจจัยชักน าและเหนี่ยมน าให้ทุเรียนออกดอก ต้องด าเนินการควบคู่กันไปกับการบังคับน้ า คือ อดน้ า
        จนกว่าใบสลดเล็กน้อยโดยสังเกตในช่วงเวลา 10 โมงเช้า จึงท าการให้น้ า 30-40% แล้วท าการพ่นปัจจัยในวันถัดไป

               การเปิดตาดอกหรือการชักน าให้ออกดอก ต้องด าเนินการเมื่อทุเรียนสร้างตาดอกตามบริเวณท้องกิ่งแล้วเท่านั้นใน
        ปริมาณที่เพียงพอ แต่หากปริมาณยังไม่เพียงพอ อาจจะต้องท าการพ่นหลายครั้ง (2-3 ครั้ง)

               ระยะที่ 2.2 การเพิ่มปริมาณการติดผลและรูปทรงของผลทุเรียน
                       ก่อนอื่นต้องท าความเข้าใจว่า การที่ดอกทุเรียนจะเจริญเติบโตได้ดีและมีกระบวนการผสมเกสรดี เพื่อให้เกิด

        การติดผลจ านวนมากและมีรูปทรงที่ดีมาจากรากฐานส าคัญ คือ ปริมาณดอกที่เหมาะสมกับปริมาณของใบ และกระบวนการ
        ผสมเกสรที่ดีสมบูรณ์ มีการให้น้ าอย่างถูกต้อง
                       ดังนั้น การจัดการตัดแต่งดอกร่วมกับการเพิ่มความสมบูรณ์ สามารถปฏิบัติได้ โดยการพ่นปัจจัยไปที่ดอก

        โดยตรงและต าแหน่งใต้ใบภายในของพุ่มด้วย
                       -ชุดดูโอแพลตตินั่ม (ชุดบ ารุงดอก) อัตราตามฉลากโดยท าการพ่น 1-2 ครั้งในระยะดอกมะเขือพวงและเมื่อดอก

        ของทุเรียนเข้าสู่ระยะหัวก าไล, ดอกหอมให้ท าการพ่นอีก 1 ครั้งด้วย ดูโอแพลตตินัมบ ารุงผลหรือดูโอพลิกลูก+อะมิโนซาน100
        และเมื่อดอกเริ่มบานหากพบว่า สภาพอากาศไม่เอื้ออ านวยเช่น หมอกลงจัดน้ าค้างมากหรือฝนตกชุก ซึ่งจะมีผลต่อกระบวนการ
        ช่วยผสมเกสรให้ใช้ฮอร์โมนพาโคบิวทาโซน ชนิดเข้มข้น 25% ที่อัตรา 250 ซีซี ผสมน้ า 200 ลิตร + สารจับใบหรือ ท็อปฟิล์มฉีด
        พ่นที่ดอกโดยตรง 1 ครั้ง ในระยะดอกหอมจะช่วยให้การติดผลที่ดีขึ้นอย่างมาก

               ข้อควรจ า  การจัดการน้ ามีผลต่อการติดผลและรูปทรงของผลทุเรียนอย่างมาก หากให้น้ าน้อยผลจะเป็นทรงกลม แต่
        หากให้น้ ามากผลจะเป็นทรงยาว และพลังงานในต้นไม่เพียงพอผลจะเป็นทรงหลอดไฟหรือหัวใหญ่ปลายแหลม และต้นใหญ่

        ใบงาม แต่มีผลน้อยผลจะเป็นทรงใหญ่ น้ าหนักมากเปลือกหนาหนามแตก สูญเสียราคา
        ระยะที่ 3  การเพิ่มปริมาณและคุณภาพผลผลิตทุเรียน
   2   3   4   5   6   7   8   9   10