Page 8 - เทคนิคการทำทุเรียนนอกฤดูคุณภาพ
P. 8

-7-


               หลังจากที่ด าเนินการปฏิบัติดูแลรักษามาจนถึงระยะที่ทุเรียนติดผลแล้ว  โดยมีปริมาณผล/ต้นจ านวนมาก ซึ่งจาก
        ขั้นตอนปฏิบัติได้อธิบายมาแล้วว่า “ชาวสวนทุเรียนต้องก าหนดปริมาณผล/ต้นให้เหมาะสมกับปริมาณของใบและแผนการ

        ตลาด และให้ธาตุอาหารอย่างเพียงพอ” โดยกระบวนการตัดแต่งผลร่วมกับการเสริมสร้างคุณภาพของใบรวมถึงการกระตุ้น
        การพัฒนาของผล ดังนี้
               ผลระยะที่ 1 หลังดอกบาน 2 สัปดาห์ ด าเนินการตัดแต่งผลที่รูปทรงไม่สวยงามออก (เฉพาะที่บิดเบี้ยว) รูปทรงดี

        สวยงามเก็บไว้ทั้งหมด พ่นโดยตรงที่หางแย้ไหม้เพิ่มการติดผลดกและลดการหลุดล่วง ดูโอแพลตตินัม (ชุดบ ารุงผล)
                       - พ่นที่ผลอ่อนโดยตรงด้วยปัจจัยเพิ่มการติดผลป้องกันการหลุดร่วงด้วยพ่นดูโอแพลตตินั่ม (ชุดบ ารุงผล) ที่ผล

        อ่อนโดยตรง
                       - ยังคงควบคุมปริมาณการให้น้ าเท่ากับระยะที่ดอกบาน

                       - ควบคุมเพลี้ยไฟป้องกันอาการหนามจีบ รวมถึงเพลี้ยแป้งไปในครั้งเดียวกันได้
               ผลระยะที่ 2 หลังดอกบาน 15-30 วัน

                       - ทางดิน ใส่ปุ๋ยดูโอไมโครแคลสูตร 4-21-21+TE (ปุ๋ยซัลเฟต 100%) อัตราต้นละ 0.5-1.-2 กก. + ดูโอไมโคร
        แคล 1 กก. (ซิลิก้า 25% + แคลเซียม 35% + แมกนีเซียม 2%) เพื่อช่วยเพิ่มธาตุอาหารพืชและลดการหลุดร่วงของดอก
                       - ทางใบและผล  พ่นบ ารุงผลอ่อนและใบภายในทรงพุ่มด้วยปัจจัยดังนี้ ดูโอแพลตตินั่ม (ชุดบ ารุงผล)

                       - กรณีหากเกิดปัญหาการแตกใบอ่อนของทุเรียน ให้พ่นทางใบนอกทรงพุ่มด้วย ดูโอแพลตตินั่ม (ชุดสั่งใบแก่) +
        แมก3000 เพื่อหยุดหรือชะลอใบให้แก่เร็ว หรือ สูตรส่งใบแก่เร็วเพิ่มอาหารด่วน (แมก3000 + อมิโนซาน100 + ปุ๋ยน้ า 0-25-

        30+ดูโอสต๊อปอัพพลัส)
               ผลระยะที่ 3 หลังดอกบาน 30-60 วัน
                              เป็นระยะที่ผลทุเรียนต้องใช้พลังงานมากขึ้น ดังนั้นหากเราพบว่ารูปทรงผลทุเรียนจะเริ่มแสดงอาการ

        บิดเบี้ยวและไม่สวยงาม แสดงว่าการจัดการจะต้องเอาใจใส่ดูแลมากขึ้น ซึ่งสามารถด าเนินการได้ 3 วิธี ดังนี้
                       1.เพิ่มความสมบูรณ์ ใส่ปุ๋ยทางดินดูโอไมโครแคลปุ๋ยเปลี่ยนพืชสูตรที่ต้องเหมาะสมกับสภาพของใบ เช่น
                       - ใบอ่อนแตกออกมาใช้สูตร ดูโอเวอร์เตอร์ซิสเต็มส์ 6-26-26+9.5S + ดูโอไมโครแคล  1-2 กิโลกรัม

        (ซิลิก้า 25% + แคลเซียม 35% + แมกนีเซียม 2%)
                       - ใบระยะเพลสลาดติดใบแก่ใช้ปุ๋ยดูโอไมโคแคลสูตร 12-12-18 ซัลเฟต หรือ 16-16-16 + TE หรือ 4-21-21 +
        TE (ปุ๋ยซัลเฟต 100%) + ดูโอไมโครแคล (ซิลิก้า 25% + แคลเซียม 35% + แมกนีเซียม 2%)
                       - ใบอ่อนเริ่มแตกแต่ผลยังเล็กและหลุดร่วงใช้สูตร 4-21-21 +TE (ซัลเฟต 100%)  ในปริมาณ 50% ของอัตรา

        การใส่ + ดูโอไมโครแคล 1-2 กิโลกรัม (ซิลิก้า 25% + แคลเซียม 35% + แมกนีเซียม 2%)
                       - ผลโตปกติสภาพใบปกติใส่สูตร 15-5-20 +TE (ปุ๋ยซัลเฟต 100%) หรือ 12-12-18  ซัลเฟต 100 % +
        ดูโอไมโครแคล (ซิลิก้า 25% + แคลเซียม 35% + แมกนีเซียม 2%)  และพ่นปัจจัยไปที่ผล โดยการปฏิบัติต่อเนื่องมาจากระยะที่
        2 ให้ด าเนินการต่อระยะที่ 3

                       2.ลดปริมาณผลโดยการตัดแต่งให้เหลือเหมาะสมกับปริมาณของใบในแต่ละต้น เช่น แปลงศึกษาของหญิงงาม
        กรุ๊ป ต้น 6 ปีครึ่ง เส้นผ่าศูนย์กลาง 6 เมตร ตัดแต่งไว้ผลตั้งแต่ปริมาณ 50-55-60-70 ผล/ต้น โดยดูจากคุณภาพของใบเป็นหลัก
                       3.พ่นปัจจัยบ ารุงใบและผล ซึ่งสูตรการใช้ปุ๋ยทางใบและผลก็จะแตกต่างไปตามความเหมาะสม เช่น

                       - ต้นที่มีการแตกใบอ่อนใช้ ดูโอแพลตตินั่ม (ชุดสั่งใบแก่)+แมก 3000
                       - ต้นที่...แตกใบและผลเล็กใช้ ดูโอแพลตตินั่ม (ชุดบ ารุงผล)+ดูโอทรีซูก้า ส่วนต้นที่ก าลังเสียหายจากใบอ่อนใช้

        ดูโอแพลตตินั่ม (ชุดสั่งใบแก่) +แมก 3000
   3   4   5   6   7   8   9   10