Page 56 - แบบเรียนคณิตม.1บท1เล่ม1
P. 56

56                     บทที่ 1 | จำ�นวนเต็ม                    หนังสือเรียนร�ยวิช�พื้นฐ�น | คณิตศ�สตร์  เล่ม 1


                                                  สมบัติก�รเปลี่ยนหมู่



                                                ✤  เมื่อนำาจำานวนเต็มสามจำานวนใด ๆ มาบวกกัน เราสามารถบวกจำานวนเต็ม
                      ข้อสังเกต                    คู่แรกหรือคู่หลังก่อนก็ได้  โดยที่ผลบวกสุดท้ายยังคงเท่ากัน  เช่น
                     สงวนสิทธิ์โดย สสวท.  ห้ามเผยแพร่ ท้าซ้้า
                                                    1)  (1 + 2) + 3  =  6      และ  1 + (2 + 3)  =  6
                เนื่องจาก  (a + b) + c  =  a + (b + c)        2)  [2 + (-9)] + 1  =  -6   และ  2 + [(-9) + 1]  =  -6
             ดังนั้น  การหาผลลัพธ์ของ  a  +  b  +  c         3)  (-5 + 6) + (-4)  =  -3   และ   -5 + [6 + (-4)]  =  -3
             สามารถทำาได้โดยไม่จำาเป็นต้องเขียนวงเล็บ
                                                    4)  [-3 + (-4)] + (-8)  =  -15 และ   -3 + [(-4) + (-8)]  =  -15
                      ข้อสังเกต ดัดแปลง หรือจ้าหน่าย                (a + b) + c  =  a + (b + c)


                                                                เมื่อ a, b และ c เป็นจำานวนเต็มใด ๆ


                                                         สมบัตินี้เรียกว่า สมบัติก�รเปลี่ยนหมู่สำ�หรับก�รบวก
                                                              (associative property for addition)



                                                ✤  เมื่อนำาจำานวนเต็มสามจำานวนใด ๆ มาคูณกัน เราสามารถคูณจำานวนเต็มคู่แรก

                                                   หรือคู่หลังก่อนก็ได้  โดยที่ผลคูณสุดท้ายยังคงเท่ากัน  เช่น

                                                    1)  (3 × 4) × 5  =  60        และ  3 × (4 × 5)  =  60
                                                                  ดัดแปลง หรือจ้าหน่าย
                เนื่องจาก (a × b) × c  =  a × (b × c)      2)  [8 × (-5)] × 1  =  -40     และ  8 × [(-5) × 1]  =  -40
                                                    3)  -2 × [3 × (-4)]  =  24
             ดังนั้น  การหาผลลัพธ์ของ  a  ×  b  ×  c    สงวนสิทธิ์โดย สสวท.  ห้ามเผยแพร่ ท้าซ้้า
                                                                                  และ  (-2 × 3) × (-4)  =  24
             สามารถทำาได้โดยไม่จำาเป็นต้องเขียนวงเล็บ      4)  (-5) × [(-6) × (-7)]  =  -210   และ  [(-5) × (-6)] × (-7)  =  -210


                                                                เมื่อ a, b และ c เป็นจำานวนเต็มใด ๆ

                                                                     (a × b) × c  =  a × (b × c)
                                                         สมบัตินี้เรียกว่า สมบัติก�รเปลี่ยนหมู่สำ�หรับก�รคูณ
                      ข้อควรระวัง
                                                           (associative property for multiplication)


                สมบัติการเปลี่ยนหมู่เป็นจริงสำาหรับ
             การบวกและการคูณเท่านั้น  สำาหรับการลบ
             และการหารนั้น ไม่มีสมบัติการเปลี่ยนหมู่
             กล่าวคือ เมื่อ  a, b และ c เป็นจำานวนเต็ม
                 a – (b – c) อาจไม่เท่ากับ (a – b) – c
             และ a ÷ (b ÷ c) อาจไม่เท่ากับ (a ÷ b) ÷ c



           สถ�บันส่งเสริมก�รสอนวิทย�ศ�สตร์และเทคโนโลยี
   51   52   53   54   55   56   57   58   59   60   61