Page 3 - eMagazine
P. 3
ปีที่ ๑๑ ฉบับที่ ๑๑๐ เดือน ตุลาคม ๒๕๖๒ ๓
ปฏิญญาความร่วมมือ...
สู่การขับเคลื่อนงาน กขป. เขต ๘ โดย...กองบรรณาธิการ
หลังจากที่คณะกรรมการเขตสุขภาพเพื่อประชาชน
(กขป.) ทั้ง ๔ เขตในภาคอีสาน ได้ร่วมกันจัดงานมหกรรม
สานพลัง “โฮมสุข อีสาน” เพื่อเชื่อมร้อยภาคีเครือข่าย
การด�าเนินงานด้านสุขภาวะ จ่าเอก วีระพล เจริญธรรม
ประธานกรรมการเขตสุขภาพเพื่อประชาชน เขตพื้นที่ ๘
กล่าวว่า การจัดงานมหกรรม “โฮมสุข อีสาน” ที่ผ่านมา
ท�าให้ กขป. ทั้ง ๒๐ จังหวัดในภาคอีสาน รวมถึงภาคี
เครือข่ายที่เกี่ยวข้องได้แลกเปลี่ยนเรียนรู้และพัฒนาการ
แก้ไขปัญหาสุขภาวะที่เกิดขึ้น และได้ท�าปฏิญญาร่วมกัน
โดยเชื่อมโยงภาคีเครือข่ายเพื่อร่วมกันขับเคลื่อนงานให้
สอดคล้องกับสถานการณ์ของภาคอีสาน
๘ มนุษย์ทองค�า...ต�าบลน่าอยู่
กขป. เขตพื้นที่ ๘ มีจังหวัดบึงกาฬ เลย หนองคาย จ่าเอก วีระพล เจริญธรรม
หนองบัวล�าภู อุดรธานี นครพนม สกลนคร ได้พัฒนา รายได้ ส่งเสริมพื้นที่การท่องเที่ยว เช่น หมู่บ้านวัฒนธรรม
ชุดความรู้และแนวทางการท�างาน “จะท�าอย่างไรให้ต�าบล ไทด�า อ�าเภอเชียงคาน เป็นต้น โดยประสานกับการ ทพญ.วรางคนาง อินทโลหิต
น่าอยู่” โดยคณะท�างานได้ลงลึกยุทธศาสตร์ในการ ท่องเที่ยวแห่งประเทศไทย ท�าให้ผู้สูงวัยมีกิจกรรมร่วม ฐานะยากจน และมักปลูกพืชเชิงเดี่ยวซึ่งใช้สารเคมีเยอะ
ขับเคลื่อนประเด็นร่วมกับภาคีเครือข่ายในพื้นที่จนได้ ๘ ในชุมชน จึงส่งเสริมให้หันมาปลูกพืชเกษตรอินทรีย์หรือเกษตรผสม
มนุษย์ทองค�า คือ ๑. นายกเทศมนตรีต�าบล ปลัดเทศบาล ผสานเพื่อลดการใช้สารเคมี โดยคณะท�างานได้ลงพื้นที่ให้
๒. สาธารณสุขอ�าเภอ ๓. ก�านัน ๔. ผู้อ�านวยการโรงพยาบาล มาตรฐานอาหารปลอดภัย ความรู้กับเกษตรกร ท�าให้ชาวบ้านหันมาสนใจท�าเกษตร
ส่งเสริมสุขภาพต�าบล ๕. ผู้แทนผู้ใหญ่บ้าน ๖. ผู้แทนส�านัก ส�าหรับประเด็นอาหารปลอดภัยจากโครงการ อินทรีย์มากขึ้นซึ่งต้องอาศัยน�้าเพื่อเพาะปลูกทั้งปี ทาง
ประสานและส่งเสริมคุ้มครองบริโภคจังหวัด ๗. ผู้แทน มาตรฐานอาหารปลอดภัย Loei Safety Food (LSF) จังหวัดจึงได้เชื่อมงานกับทางองค์การบริหารส่วนจังหวัด
ชุมชนที่เข้มแข็ง ๘. ผู้แทนส�านักงานพัฒนาชุมชนอ�าเภอ ปัจจุบันพื้นที่ต�าบลน�้าสวย กลายเป็นแหล่งผลิตข้าวที่ เพื่อขุดเจาะบ่อบาดาล และประสานหน่วยงานพลังงาน
โดยได้ร่วมปรึกษาหารือและสรุปการท�างานร่วมกันใน ปลอดภัยที่สุดในโลก โดยได้ตั้งคณะกรรมการรับรอง จังหวัดดูแลเรื่องพลังงานแสงอาทิตย์ ท�าระบบการปั้มน�้า
๓ เรื่องหลัก คือ อาหารปลอดภัย การดูแลผู้สูงอายุ และ มาตรฐานอาหารปลอดภัยจังหวัดเลย เบื้องต้นโครงการนี้ บาดาลด้วย Solar Cell ท�าให้มีน�้าใช้ในการเพาะปลูกได้
การจัดการขยะ เน้นให้คนในจังหวัดกว่า ๖ แสนคน ได้บริโภคอาหาร ตลอดทั้งปี แทนการใช้เครื่องจักรที่ท�าให้เกิดมลพิษใน
ปลอดภัย ซึ่งการขับเคลื่อนงานอาหารปลอดภัยในปี อากาศ แถมยังประหยัดพลังงานไฟฟ้า ลดต้นทุนการผลิต
ชุมชนจัดการขยะ ๒๕๖๓ ได้วางแผนงานให้ผู้ผลิต ผู้ประกอบการร้านค้า ในภาพรวมด้วย
น�าไปสู่การจัดเวทีเสวนาเรื่อง “ต�าบลน่าอยู่” และ หรือร้านอาหารในที่พัก มีการประกอบอาหารมาตรฐาน
ท�าข้อตกลงร่วมกันระหว่างนายอ�าเภอ สาธารณสุขอ�าเภอ LSF เพื่ออ�านวยความสะดวกและปลอดภัยส�าหรับผู้บริโภค ลด ละ เลิกใช้สารเคมี
แกนน�าชุมชน บันทึกข้อตกลงร่วมกันขับเคลื่อนงานให้ นอกจากนี้ ผู้ว่าราชการจังหวัดยังได้สั่งการให้ศูนย์พัฒนา จังหวัดหนองบัวล�าภู ยังได้ประสานหน่วยงานวิจัย
สอดรับกับนโยบายพัฒนาคุณภาพชีวิตอ�าเภอ ส�าหรับ เด็กเล็ก โรงเรียนประถมศึกษาทั้งจังหวัด มีอาหารมื้อ โครงการวิจัยของมหาวิทยาลัยเชียงใหม่ เกี่ยวกับ “การ
ประเด็นการก�าจัดขยะในแต่ละครัวเรือน ยกตัวอย่าง กลางวันที่ได้มาตรฐานปลอดภัย รวมถึงโรงพยาบาลทั้ง ลด ละ เลิกการใช้สารเคมี” ซึ่งได้รับการสนับสนุนเต็มที่
จังหวัดเลยมีทั้งหมด ๑๕ ต�าบล ไม่ได้อาศัยรถเก็บขยะ ๑๔ แห่งในจังหวัดเลย และผู้สูงวัยที่ติดเตียงต้องได้รับ จากความร่วมมือของหลายภาคีเครือข่าย เดิมตรวจสอบ
เพียงอย่างเดียว แต่ให้คนในชุมชนรู้จักการคัดแยกขยะ อาหารที่มีคุณภาพและปลอดภัยต่อสุขภาพ สารเคมีตกค้างเพียงอย่างเดียว ปัจจุบันสามารถพัฒนาสู่
เพื่อน�ามาแลกหนังสือ แลกกองทุนสวัสดิการ รวมถึงแลก การยกระดับมาตรฐานอาหารปลอดภัยของจังหวัด เช่น
การเข้าถึงบริการต่างๆ ขึ้นอยู่กับข้อก�าหนดแต่ละต�าบล “หนองบัวล�าภู” ต่อยอดอาหารปลอดภัย New Restaurant ของเกษตรสหกรณ์ ร้านอาหารของ
ทพญ.วรางคนาง อินทโลหิต ทันตแพทย์ผู้เชี่ยวชาญ พาณิชย์จังหวัด หรือ Clean Food Good Taste ของ
ดูแลสูงวัย - ไม่ไกลตัว สาธารณสุขจังหวัดหนองบัวล�าภู กล่าวเพิ่มเติมถึงการ กระทรวงสาธารณสุข ไม่ว่าจะเป็นแผงลอยจ�าหน่าย
ในส่วนของการดูแลผู้สูงอายุ ภาคเอกชนได้เข้า ต่อยอดมาตรฐานอาหารปลอดภัยว่า ทิศทางการขับเคลื่อน อาหาร ร้านอาหาร โรงอาหาร ฯลฯ เมื่อได้รับมาตรฐาน
มามีบทบาทร่วมกับส�านักงานกองทุนสนับสนุนการสร้าง งานในปีนี้ เน้นเรื่องอาหารปลอดภัยโดยผลักดันให้ อาหารปลอดภัยของจังหวัด ก็สามารถสร้างความมั่นใจ
เสริมสุขภาพ (สสส.) ให้ทุนสนับสนุนโครงการน�าร่อง เป็นวาระของจังหวัดหนองบัวล�าภู เพื่อให้ส่วนราชการ เรื่องอาหารปลอดภัยให้แก่ผู้บริโภค ส่วนทิศทางหลังจากนี้
“จัดตั้งอาสาสมัครดูแลผู้สูงอายุ” โดยมีตัวแทนจาก เห็นความส�าคัญและเชื่อมโยงการท�างานร่วมกันกับ จะจัดเวทีแสดงความคิดเห็นและเชิญชวนผู้มีส่วนได้เสีย
โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพต�าบล มาเป็นวิทยากรให้ ภาคส่วนต่างๆ โดยมีนักวิชาการมาสนับสนุนกลุ่มเกษตรกร (Stakeholder) มาท�างานร่วมกันทั้งระบบ รวมถึงจัด
ความรู้แก่อาสาสมัคร ปัจจุบันด�าเนินโครงการไปแล้ว ๕ คณะกรรมการพัฒนาคุณภาพชีวิตระดับอ�าเภอ (พชอ.) บริการตรวจเลือดในกลุ่มผู้บริหาร ให้เห็นส�าคัญของ
แห่ง รวมถึงโครงการ Long Term Care ของกระทรวง ประสานกับส่วนราชการและภาคการผลิตมากขึ้น ทาง สารเคมีที่ตกค้างในร่างกาย เพราะเป็นกลุ่มที่มีอ�านาจในการ
สาธารณสุข ส�าหรับผู้สูงอายุที่มีภาวะพึ่งพิง เกิดการ ส�านักงานสาธารณสุขจังหวัดช่วยตรวจสอบว่ามีสารเคมี ตัดสินใจและก�าหนดนโยบาย เพื่อน�าไปสู่การขยายผล
หนุนเสริมให้ผู้สูงอายุมีคุณภาพชีวิตที่ดีขึ้น นอกจากนี้ ตกค้างหรือไม่ เป็นต้น เหล่านี้ท�าให้เห็นเป็นรูปธรรมมากขึ้น อันจะช่วยให้เกิดสุขภาวะที่ดีทั้งผู้ผลิตและผู้บริโภคต่อไป
ยังมีโครงการสร้างอาชีพแก่ผู้สูงอายุ โดยมีกรมพัฒนาฝีมือ ผู้ว่าราชการจังหวัดหนองบัวล�าภู เห็นความส�าคัญ
แรงงานมาฝึกงานฝีมือให้แก่ผู้สูงวัยและต่อยอดการสร้าง ในนโยบายดังกล่าว มองว่าเกษตรกรในจังหวัดส่วนใหญ่