Page 7 - eMagazine
P. 7

ปีที่ ๑๑ ฉบับที่ ๑๑๐ เดือน ตุลาคม ๒๕๖๒                                                                                          ๗





 เสริมพลังบวกใน กทม.   อาหารในโรงเรียนเปลี่ยนชุมชน                                                                      นโยบาย

                                                                                                                               by
                                                                                                                        สาธารณะ
 ให้เป็นพื้นที่ปลอดยาเสพติด  ยกระดับสู่การขับเคลื่อนเชิงนโยบาย                                                        โดย... รัฐวรรณ  เฮงสีหาพันธ์




             จากผลกระทบของการจัดการอาหารในโรงเรียนที่
        ไม่สามารถแก้ไขปัญหาในด้านภาวะทุพโภชนาการ ความ
        ปลอดภัยอาหาร ความมั่นคงของอาหาร รวมถึงพฤติกรรม
        การบริโภคอาหารที่มีผลเสียต่อสุขภาพ ท�าให้เกิดปัญหา
        สุขภาพหลายระบบ และมีความเสี่ยงต่อการเกิดโรคไม่ติดต่อ
        เรื้อรัง รวมถึงปัญหาในด้านภาวะทุพโภชนาการ เช่น เด็กมี
        ความสูงต�่ากว่าเกณฑ์ น�้าหนักต�่ากว่าเกณฑ์ ขาดสารไอโอดีน
        ขาดธาตุเหล็กส่งผลภาวะเชาวน์ปัญญาต�่า และส่งผลต่อการ
        พัฒนาประเทศในอนาคต ขณะเดียวกันปัญหาของการมี
        พื้นที่ทางการเกษตรลดลง ต้นทุนการเกษตรที่สูงขึ้นจากการ
        ใช้ปุ๋ยและสารเคมี และท�าการเกษตรเชิงเดี่ยวเพิ่มมากขึ้น  จากรูปธรรมการขับเคลื่อนพื้นที่จังหวัดสุรินทร์ ได้ถูก เพื่อท�าเป็น “ครัวกลาง” เป็นนวัตกรรมความร่วมมือของ
        ยังส่งผลถึงความมั่นคงทางอาหาร               น�าเสนอในที่ประชุม ครม. เมื่อวันที่ ๘ พฤษภาคม พ.ศ. คนทั้งชุมชน และรับซื้อผลผลิตทั้งพืช ผัก ผลไม้ เนื้อสัตว์
             ดังนั้น ภาคีเครือข่าย ภาครัฐ วิชาการ และภาคประชา ๒๕๖๑ ซึ่งคณะรัฐมนตรีให้ความส�าคัญกับเรื่องดังกล่าว โดย มาปรุงอาหารโดยแม่ครัวเพียงกลุ่มเดียว และจัดท�าอาหาร
        สังคม จึงได้เสนอวาระเข้าสู่ที่ประชุมสมัชชาสุขภาพแห่งชาติ             สั่งการให้จังหวัดสุรินทร์สนับสนุนการด�าเนินงาน “ระบบ ตามโปรแกรม Thai School Lunch เมื่อการจัดซื้อวัตถุดิบ
        ปี ๒๕๕๖ เกิดเป็นนโยบายสาธารณะที่เรียกว่า มติสมัชชา การจัดการอาหารในโรงเรียน” ให้ครอบคลุมทั้งจังหวัด รวมอยู่ในจุดเดียว สามารถควบคุมวัตถุดิบให้สด สะอาด
        สุขภาพแห่งชาติ ระบบการจัดการอาหารในโรงเรียน โดยได้ สุรินทร์ และให้ขยายผลไปสู่จังหวัดอื่นๆ ทั่วทั้งประเทศ        ปลอดภัย ส่งผลต่อคุณภาพอาหารที่ดีขึ้นเป็นล�าดับ ทั้งยัง
        เสนอต่อคณะรัฐมนตรี (ครม.) เมื่อวันที่ ๗ พฤษภาคม พ.ศ.  ต่อไป                             ช่วยลดภาระการจัดเตรียมอาหารของครูแต่ละศูนย์ฯ ที่
        ๒๕๕๘ ซึ่ง ครม. ได้มอบหมายให้หน่วยงานที่เกี่ยวข้อง            จากการขับเคลื่อนระบบการจัดการอาหารในโรงเรียน ส�าคัญงบประมาณกว่า ๗๐% น�ามาหมุนเวียนอยู่ในพื้นที่
        รับไปด�าเนินการต่อ ได้แก่ กระทรวงศึกษาธิการ กระทรวง ผ่านกลไกและนโยบายของจังหวัดสุรินทร์ พบว่า บทเรียน จากการจัดซื้อวัตถุดิบภายในชุมชน อีกทั้งเทศบาลต�าบล
        มหาดไทย กระทรวงสาธารณสุข กระทรวงเกษตรและ การด�าเนินงานมีปัจจัยความส�าเร็จที่ส�าคัญ ได้แก่ ผู้น�า         เมืองแก ยังให้ความรู้แก่ชุมชนในการผลิตพืชผักปลอดสาร
        สหกรณ์ กระทรวงการอุดมศึกษา วิทยาศาสตร์ วิจัยและ เข้มแข็ง การท�างานบนพื้นฐานข้อมูล การมีกลไกก�ากับ เคมีเพื่อป้อนเข้าสู่ครัวกลาง และการวางแผนผลผลิตใน
        นวัตกรรม ส�านักงานกองทุนสนับสนุนการสร้างเสริมสุขภาพ  ติดตามการท�างานในพื้นที่ให้เกิดการพัฒนาอย่างต่อเนื่อง   แต่ฤดูเพื่อให้สอดคล้องกับเมนูอาหารที่ถูกออกแบบไว้ก่อน
        (สสส.) และภาคีเครือข่ายที่เกี่ยวข้อง ซึ่งส�านักคณะกรรมการ ได้สรุปรูปแบบออกเป็น ๓ โมเดล ได้แก่   ล่วงหน้า ๓ เดือนอีกด้วย
        สุขภาพแห่งชาติ (สช.)  ท�าหน้าที่เป็นองค์กรที่หนุนเสริมให้  ๑. การจัดการอาหารโดยโรงเรียนเป็นแกนหลักและ  ๓. การจัดการอาหารแบบประสานพลังความร่วมมือ
        ภาคีเครือข่ายร่วมกันขับเคลื่อนเรื่องดังกล่าวอย่างต่อเนื่อง  การใช้โปรแกรม Thai School Lunch ของ โรงเรียน ของชุมชน โดยองค์การบริหารส่วนต�าบลเมืองลีง อ�าเภอ
        นับตั้งแต่ ปี พ.ศ.๒๕๕๘ ปัจจุบันมีการพัฒนาระบบ             บ้านโคกจ�าเริญ ต�าบลตานี จังหวัดสุรินทร์ เริ่มจาก               จอมพระ จังหวัดสุรินทร์ มีการจัดตั้งกลไกด�าเนินงานของ
        การจัดการอาหารในโรงเรียน โดยร่วมกับหน่วยงานภาคี ผู้บริหารโรงเรียนสร้างการมีส่วนร่วมกับคณะครู นักเรียน  องค์การบริหารส่วนต�าบลเมืองลีง โดยสนับสนุนเชิงนโยบาย
        เครือข่ายพัฒนาข้อเสนอเชิงนโยบายให้มีการปรับปรุง         และผู้ปกครอง ช่วยกันจัดหาและผลิตวัตถุดิบ พืช ผัก ผลไม้  และมีแผนงานที่ชัดเจนด้านการเกษตรและอาหารปลอดภัย
        การบริหารจัดการกองทุนเพื่อโครงการอาหารกลางวัน           จากชุมชน และโรงเรียนปลูกเอง น�ามาท�าอาหารให้เด็กๆ  มีการหนุนเสริมผลักดันให้โรงเรียนและชุมชนด�าเนินการ
        ในโรงเรียนประถมศึกษา ให้มีการด�าเนินงานอย่างมี ได้รับประทานอย่างถูกต้องตามโปรแกรม และโรงเรียน       ส�ารวจข้อมูลการผลิต การสนับสนุนกลุ่มอาชีพทางการ
        ประสิทธิภาพ มีการบูรณาการการด�าเนินงานในทุกภาคส่วน  บ้านโคกจ�าเริญได้ส่งผ่านความรู้เรื่องการจัดการอาหารให้ เกษตร การเลี้ยงไก่ไข่ในครัวเรือน การผลิตวัตถุดิบอาหาร
        โดยมีพื้นที่ปฏิบัติการในจังหวัดสุรินทร์     พ่อ แม่ ผู้ปกครอง น�าไปใช้ที่บ้าน เช่น การให้ความส�าคัญ ปลอดภัยในพื้นที่ต�าบลเมืองลีง แม้ว่าจะมีปริมาณไม่
                                                    กับอาหารมื้อเช้า การรับประทานผัก ผลไม้เป็นประจ�า           เพียงพอต่อการบริโภคหรือน�าไปใช้เป็นวัตถุดิบในโครงการ
                                                    ส่งผลต่อการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมในการบริโภคของเด็ก อาหารกลางวัน ท�าให้ต้องซื้อวัตถุดิบส่วนใหญ่จากตลาดสด
                                                    นักเรียนไปในทางที่ดีขึ้น ถือเป็นต้นแบบระบบการจัดการ อย่างไรก็ดี อบต.เมืองลีง ได้รับการสนับสนุนจากหน่วยงาน
                                                    อาหารในโรงเรียนที่มีประสิทธิภาพมากที่สุดแห่งหนึ่งของ ภายนอก เช่น มูลนิธิอาสาเพื่อนพึ่ง (ภาฯ) ยามยาก
                                                    ประเทศ                                      สภากาชาดไทย ท�าให้มีวัตถุดิบอาหารปลอดภัยให้โรงเรียน
                                                         ๒. การจัดการอาหารแบบครัวกลาง ของเทศบาล ได้เพียงพอและต่อเนื่อง นอกจากนี้ อบต.เมืองลีงมีแนวคิด
                                                    ต�าบลเมืองแก อ.ท่าตูม จ.สุรินทร์ เทศบาลได้ดูแลศูนย์ ที่จะขยายผลการจัดการอาหารในโรงเรียนไปยังโรงเรียน
                                                    พัฒนาเด็กเล็กถึง ๕ แห่ง โดยน�างบอาหารกลางวันของศูนย์ ประถมศึกษาในพื้นที่ต�าบลเมืองลีงให้ครอบคลุมมากขึ้น
                                                    พัฒนาเด็กเล็กมารวมไว้จุดเดียว ไม่กระจายให้แต่ละศูนย์  จากการขับเคลื่อนในระดับนโยบายและระดับพื้นที่
                                                                                                สช.ร่วมกับหน่วยงานภาคีเครือข่ายได้ร่วมกันจัดประชุมเชิง
                                                                                                ปฏิบัติการขยายผลการขับเคลื่อนนโยบายสาธารณะแบบมี
                                                                                                ส่วนร่วมว่าด้วยเรื่องระบบการจัดการอาหารในโรงเรียนและ
                                                                                                ชุมชน เมื่อวันที่ ๒๖ - ๒๗  กันยายน ๒๕๖๒ เพื่อเชื่อมโยง
                                                                                                ระบบ กลไก กระบวนการ รวมถึงบทบาทและความรับผิดชอบ
                                                                                                ของหน่วยงานองค์กรภาคีเครือข่ายที่เกี่ยวข้อง และได้
                                                                                                ข้อเสนอเชิงนโยบายและเชิงปฏิบัติการในการขยายผลระบบ
                                                                                                การจัดการอาหารในโรงเรียนและชุมชนแบบมีส่วนร่วม เพื่อ
                                                                                                เสนอต่อหน่วยงานองค์กรภาคีเครือข่ายที่เกี่ยวข้องต่อไป
   2   3   4   5   6   7   8   9   10   11   12