Page 8 - eMagazine
P. 8

๘                                                                                                   ปีที่ ๑๑ ฉบับที่ ๑๑๐ เดือน ตุลาคม ๒๕๖๒




                                                    วิถีเพศภาวะ






                              เสริมพลังสุขภาวะครอบครัว
        โดย...กองบรรณาธิการ




































                                 นายจะเด็จ เชาวน์วิไล  รศ.ดร.สมพร รุ่งเรืองกลกิจ  ศ.ดร.ศิริพร จิรวัฒน์กุล  นายนาดา ไชยจิตต์


                     ความรุนแรงในสังคมไทยที่เพิ่มมากขึ้น ไม่ว่าจะเป็นเรื่องระหว่างเพศ หรือเพศเดียวกัน ปัจจัยส�าคัญที่ท�าให้เกิด
                     ความรุนแรงคือ วิถีเพศภาวะ ซึ่งเป็นเรื่องที่เกี่ยวข้องกับทุกชีวิตแต่ถูกละเลยในสังคมไทย ดังนั้น เพื่อให้สังคม
                  ตระหนักเห็นว่าความไม่เท่าเทียม ไม่เสมอภาค ไม่เป็นธรรมในสังคม เป็นต้นเหตุหนึ่งของการเกิดความรุนแรง จึงเป็น
                  ที่มาของการพัฒนาประเด็นดังกล่าว น�าเสนอเข้าสู่สมัชชาสุขภาพแห่งชาติปีนี้ เพื่อเป็นนโยบายสู่การขับเคลื่อนต่อไป


             ศ.ดร.ศิริพร จิรวัฒน์กุล ประธานคณะท�างาน ครอบครัว ส่วนเพศวิถี เป็นวิถีทางเพศที่ถูกหล่อหลอม ผู้ป่วย “ตอนนี้ได้ด�าเนินโครงการอบรมเรื่องเพศภาวะ
        พัฒนาข้อเสนอนโยบายเฉพาะประเด็น วิถีเพศภาวะ  จากค่านิยม บรรทัดฐานและการแสดงออกทางเพศ ที่ แก่กลุ่มองค์การบริหารส่วนต�าบล แกนน�าผู้ใหญ่บ้าน
        เสริมพลังสุขภาวะครอบครัว เล่าถึงวัตถุประสงค์ของการ ไม่ได้จ�ากัดเฉพาะหญิงหรือชาย แต่ยังรวมถึงผู้หลากหลาย สภาต�าบล กลุ่มอาสาสมัครสาธารณสุขประจ�าหมู่บ้าน
        เสนอประเด็นวิถีเพศภาวะฯ เข้าสู่การประชุมสมัชชา ทางเพศ ซึ่งส่วนใหญ่ต่างได้รับความกดดันจากการ ให้เข้าใจถึงเพศภาวะว่าคืออะไร ส่งผลกระทบกับตัวเอง
        สุขภาพแห่งชาติที่จะเกิดขึ้นในช่วงเดือนธันวาคมปีนี้  ก�าหนดบทบาทในสังคม ที่ส่งผลลบต่อสุขภาพกาย  และคนรอบข้างอย่างไร ชาวบ้านที่เข้าอบรมได้แนวทาง
        ก่อนที่จะกล่าวต่อถึงภาพรวมการท�างานว่า ได้รับความ สุขภาพจิต และส่งผลต่อสุขภาวะครอบครัวรวมถึงสังคม การใช้ชีวิตแบบใหม่ในลักษณะไม่ยึดติดกับบทบาท ไม่
        ร่วมมือจากตัวแทนของหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง โดยศึกษา โดยรวมด้วย” ศ.ดร.ศิริพร กล่าว         ผลักความรับผิดชอบตามเพศก�าหนด ทั้งนี้ ต้องอาศัย
        ข้อมูลเพื่อท�าความเข้าใจร่วมกัน เช่น การเลือกใช้ค�าให้  ขณะเดียวกัน รศ.ดร.สมพร  รุ่งเรืองกลกิจ                ภาคีเครือข่ายร่วมมือกัน ซึ่งกระทรวงศึกษาธิการได้
        ชัดเจน การน�าเสนอเนื้อหาให้กระชับเข้าใจง่าย เพื่อ ผู้อ�านวยการศูนย์วิจัยและฝึกอบรมเพศภาวะและสุขภาพ เข้ามาศึกษาเพื่อน�านโยบายเข้าสู่หลักสูตรการเรียน
        ถ่ายทอดให้เห็นว่าวิถีเพศภาวะเป็นเครื่องมือในการ        สตรี คณะพยาบาลศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น           การสอนให้เยาวชนรุ่นใหม่เข้าใจเรื่องนี้ได้มากยิ่งขึ้น”
        ขับเคลื่อนทางบวกต่อการเสริมพลังสุขภาวะครอบครัว ให้ข้อมูลด้านเพศภาวะต้นเหตุของการเกิดโรคภาวะ            ไม่เฉพาะความเครียดที่ฝ่ายหญิงเผชิญ หากผู้ชาย
             ศ.ดร.ศิริพร กล่าวว่า นับตั้งแต่ประเทศไทยได้เข้า ซึมเศร้าในผู้หญิง ซึ่งจากการคลุกคลีงานด้านจิตเวช      เองก็ถูกก�าหนดบทบาทของการเป็นผู้น�า ความกดดัน
        เป็นสมาชิกสหประชาชาติ และเข้ารับปฏิญญาสากลว่า พบว่า ผู้หญิงจ�านวนมากมีปัญหาซึมเศร้าหรือเครียด จากภาระความรับผิดชอบ และไม่สามารถแสดงความ
        ด้วยสิทธิมนุษยชนที่ให้ความส�าคัญกับเรื่องการไม่เลือก เรื้อรัง สาเหตุเพราะต้องแบกรับความกดดันจากมุมมอง อ่อนแอออกมาให้เห็นได้ ท�าให้ผู้ชายมีอัตราฆ่าตัวตาย
        ปฏิบัติ รัฐบาลได้มอบหมายให้กระทรวงการพัฒนา ของสังคม ว่าต้องเป็นบุตรสาวที่ดี ภรรยาที่ดี แม่ที่ดี ด้วย ส�าเร็จมากกว่าผู้หญิงถึง ๔ เท่า นายจะเด็จ เชาวน์วิไล
        สังคมและความมั่นคงของมนุษย์ ผลักดันให้เกิดการ บรรทัดฐานที่สังคมก�าหนดบทบาทของผู้หญิง ความ ประธานมูลนิธิหญิงชายก้าวไกล กล่าวถึงวิถีเพศภาวะ
        ด�าเนินกิจกรรมสร้างความเสมอภาคด้านเพศภาวะ ซึ่ง เหนื่อยจากภาระความรับผิดชอบในกรอบของผู้หญิง  ของผู้ชายที่ส่งผลกระทบต่อสุขภาพว่า
        เรื่องดังกล่าวต้องอาศัยความร่วมมือในวงกว้าง จึงได้ตั้ง รวมถึงถูกปลูกฝังว่าต้องอดทนเพื่อลูก แม้จะมีความ  “ทัศนคติแบบชายเป็นใหญ่” ต้องท�างานเลี้ยง
        คณะท�างานจัดท�านโยบายขึ้น                   รุนแรงในบ้าน เป็นต้น ในขณะที่คนส่วนใหญ่กลับมองว่า  ครอบครัว เป็นผู้น�า ยึดติดศักดิ์ศรี คิดว่าต้องมีอ�านาจ
             “จริงๆ เรื่องเพศภาวะเป็นเรื่องในชีวิตของทุกคน  เหล่านี้เป็นเรื่องธรรมชาติ          เหนือกว่าผู้หญิง หรือแสดงออกทางพฤติกรรมให้ดูเป็น
        เราต้องเริ่มต้นจากการท�าความเข้าใจเรื่องเพศสรีระ   รศ.ดร.สมพร กล่าวอีกว่า บทบาทผู้หญิงที่ถูก ชาย เช่น ดื่มเหล้า เล่นการพนัน ฯลฯ ด้วยบทบาทความ
        หรือเพศก�าเนิดที่บ่งบอกความเป็นหญิง - ชาย ส่วน       ก�าหนดโดยสังคมจึงเป็นสิ่งที่ต้องแก้ไข นั่นคือ “การ       เป็นชายที่สังคมก�าหนด ส่งผลให้เกิดภาวะความเครียด
        เพศภาวะ (Gender) หรือเพศก�าหนด ซึ่งถูกก�าหนดจาก รื้อถอนความเชื่อฝังหัว” ซึ่งเรื่องเพศภาวะไม่ได้ถูกสอน ไม่มีช่องทางระบายความคับข้องใจ และอาจก่อให้เกิด
        เงื่อนไขทางสังคม ทั้งบทบาทหน้าที่ ความรับผิดชอบ  ในสังคมไทยหรือในวิชาชีพสุขภาพ ดังนั้น จึงเริ่มมีการ ความรุนแรงในครอบครัว “ผู้ชายส่วนใหญ่ที่มาขอ
        ความคาดหวัง เช่น ผู้ชายต้องเข้มแข็งเป็นผู้น�าและ        ให้ความรู้เรื่องนี้กับกลุ่มพยาบาล นักจิตวิทยา นักสังคม  ค�าปรึกษา มักมีปัญหาในครอบครัวแล้วไม่มีทางออก หัน
        หาเลี้ยงครอบครัว ผู้หญิงต้องดูแลบ้านและคนใน สงเคราะห์ ทั้งได้เรียนรู้เองและเป็นข้อมูลส�าหรับบ�าบัด ไปพึ่งเหล้า สารเสพติด เพราะหากไปพูดปรึกษาคนอื่น
   3   4   5   6   7   8   9   10   11   12