Page 6 - eMagazine
P. 6
๖ ปีที่ ๑๑ ฉบับที่ ๑๑๐ เดือน ตุลาคม ๒๕๖๒
เล่า เสริมพลังบวกใน กทม.
ให้เป็นพื้นที่ปลอดยาเสพติด
โดย... สนพ.ภาคกลาง
สถานการณ์การแพร่ระบาดของยาเสพติด นับเป็น
ปัญหาขั้นวิกฤตที่ส่งผลร้ายในสังคมไทยมายาวนาน
หลายหมู่บ้าน หลายชุมชนต้องตกอยู่ในวงจรปัญหา
ยาเสพติด หลายชีวิตต้องสูญเสียคนที่รัก หลายครอบครัว
ต้องทุกข์ใจที่ลูกหลานเข้าไปเกี่ยวข้องกับยาเสพติด
เด็กเยาวชนในชุมชนหลงผิดเข้าไปทดลองเสพยาจน
กลายเป็นภาวะเสพติด และยกระดับพฤติกรรมเป็นการ
ค้ายาเสพติด ผลกระทบที่ตามมา คือผลเสียต่อสุขภาพ
ตัวเอง รวมถึงการกระท�าความผิดอาญาถูกด�าเนินคดี
ขาดอิสรภาพและต้องใช้ชีวิตอยู่ในสถานพินิจหรือ
เรือนจ�า ปัญหายาเสพติดจึงเป็นปัญหาที่มีความสลับ
ซับซ้อนและเชื่อมโยงไปสู่ปัญหาทางสังคมอื่นอีกมากมาย
ซึ่งปัญหายาเสพติดไม่ว่าจะเป็นต้นทางหรือปลายทาง
ทุกปัจจัยเงื่อนไขล้วนส่งผลถึงกัน อาจเริ่มจากครอบครัว
หรือจากสิ่งเร้าที่กระตุ้นให้คนต้องการมีเงิน มีรายได้
รวมถึงการรู้เท่าไม่ถึงการณ์ อยากทดลอง ความซับซ้อน
ของปัญหายาเสพติดจึงน�าไปสู่ปัญหาทางสังคมและ บทเรียนจากการขับเคลื่อนงานแก้ไขปัญหา
ส่งผลกระทบต่อคุณภาพพลเมืองในอนาคตของสังคม ยาเสพติดของคนกรุงเทพฯ สะท้อนสิ่งส�าคัญที่ท�าให้เห็น
ไทย ถึง “หัวใจหลัก” ที่เป็นฐานเพื่อน�าไปสู่การป้องกันและ
ยิ่งในกรุงเทพมหานครเป็นเมืองหลวงของ แก้ไขปัญหายาเสพติดอย่างเป็นรูปธรรม คือ การใช้
ประเทศไทยที่มีประชากรกว่าห้าล้านหกแสนกว่าคน ชุมชนเป็นศูนย์กลางในการป้องกันและแก้ไขปัญหา
ปัญหายาเสพติดยิ่งเพิ่มความซับซ้อนตามบริบทของ ยาเสพติด เริ่มจากส�านึกรักชุมชนของผู้น�า คนท�างานใน
ความเป็นเมืองที่ไร้ระบบความสัมพันธ์และวิถีชีวิตของ ชุมชนมีใจอาสา พร้อมได้รับการพัฒนาศักยภาพและ
ผู้คนที่ต่างคนต่างอยู่ ยาเสพติดจึงเข้าถึงผู้คนในชุมชน สร้างผลกระทบที่น่าหนักใจให้กับคนกรุงเทพฯ เป็น ทักษะ องค์ความรู้ที่เป็นประโยชน์ในการปฏิบัติ
กรุงเทพฯ อย่างเลี่ยงไม่พ้น พื้นที่เสี่ยงต่อการแพร่ระบาด อย่างมาก มติสมัชชาสุขภาพแห่งชาติ ครั้งที่ ๑๐ ชุมชนเป็น
ของยาเสพติดก็คือชุมชน โดยเฉพาะชุมชนแออัดที่มี ภายใต้ความซับซ้อนของปัญหายาเสพติดที่รุกเร้า ศูนย์กลางในการป้องกันและแก้ไขปัญหายาเสพติด จึง
ผู้คนมากหน้าหลายตา ดังนั้นกลุ่มเยาวชนจึงเป็นกลุ่ม คุณภาพชีวิตของคนกรุงเทพฯ ในชุมชนจึงเกิดการ เป็นมติที่เกิดจากอุดมการณ์ บทเรียน และองค์ความรู้
เป้าหมายที่น่าเป็นห่วงต่อการเข้าถึงยาเสพติด แม้ว่า รวมตัวของประชาชนที่มีจิตอาสา ที่ไม่ยอมจ�านนต่อ ของประชาชน ชุมชนร่วมกันผลักดันและขับเคลื่อนน�า
รัฐบาลจะประกาศให้ปัญหายาเสพติดเป็นวาระแห่งชาติ ปัญหายาเสพติด พยายามหาทางออกและแก้ไขปัญหา ไปสู่การสร้างพื้นที่ปลอดภัยและสร้างความสุขให้กับ
ที่ต้องด�าเนินการอย่างเร่งด่วน พร้อมทั้งได้ด�าเนินการ ยาเสพติดด้วยวิธีการที่หลากหลาย หลายชุมชนรวมตัว สังคมไทยในระยะยาว
ออกแผนการป้องกัน ปราบปราม บ�าบัดรักษาและก�าหนด กันเป็นเครือข่ายที่มุ่งมั่นป้องกัน เฝ้าระวังและป้องปราม
ยุทธศาสตร์ด้านต่างๆ รวมถึงหน่วยงานภาครัฐ กรุงเทพ ไม่ให้ชุมชนของตัวเองต้องเสี่ยงกับยาเสพติด หลาย
มหานคร ที่มีส�านักงานเขตเข้าถึงชุมชนแม้จะพยายาม ชุมชนแก้ไขปัญหาผู้เสพยาด้วยวิธีการเข้าถึง และเข้าใจ ปัจจุบัน พื้นที่กรุงเทพมหานคร ก�าลังมีการ
ท�างานป้องกันและแก้ไขปัญหายาเสพติดอย่างเต็มก�าลัง ชักชวนผู้เสพติดให้เข้าสู่กระบวนการบ�าบัดรักษา ผู้น�า ท�างานร่วมระหว่างเครือข่ายกองทุนแม่ของแผ่นดิน
ความสามารถแล้วก็ตาม แต่ปัญหายาเสพติดก็ยังคง ชุมชนต่างลองผิดลองถูกกันหลายวิธีในการแก้ไขปัญหา เครือข่ายอาสาสมัครกรุงเทพมหานครเฝ้าระวังภัย
ยาเสพติด กระทั่งเกิดกลไกเครือข่ายภาคประชาชนที่มา และยาเสพติด (อสย.) และหน่วยงานสนับสนุน อาทิ
จากผู้น�า คณะกรรมการ กลุ่มอาสาสมัครต่างๆ ในชุมชน กทม. ปปส. สช. และ ศูนย์วิชาการสารเสพติดภาค
กรุงเทพมหานคร รวมตัวกันเดินหน้าปฏิบัติการป้องกัน เหนือ ที่มีเป้าหมายร่วม ลดผู้เสพยา ที่ใช้ยุทธศาสตร์
และแก้ไขปัญหายาเสพติด หลายพื้นที่ชุมชนได้รับการ “บ�าบัดคนเดิม ลดคนติดเพิ่ม” โดยจะท�าการสรุป
สนับสนุนจากหน่วยงานภาครัฐ เช่น ส�านักงานคณะ บทเรียนพื้นที่ตัวอย่างที่มีความร่วมมือป้องกันและ
กรรมการป้องกันและปราบปรามยาเสพติด (ป.ป.ส.) จัดการปัญหายาเสพติดได้อย่างเป็นรูปธรรม เพื่อน�า
ผ่านเครือข่ายกองทุนแม่ของแผ่นดิน หลายพื้นที่ได้รับ มาขยายผลให้เกิดเครือข่ายความร่วมมือระหว่าง
การหนุนเสริมจากกรุงเทพมหานครผ่านส�านักต่างๆ ภาคประชาชนกับภาครัฐ ที่จะสนับสนุนให้เครือข่าย
และส�านักงานเขตลงสู่พื้นที่ชุมชน ทุกภาคส่วนต่าง ภาคประชาชนเป็นศูนย์กลางการป้องกันและแก้ไข
ลงมือช่วยกันแก้ปัญหา น�าไปสู่การเกิดองค์ความรู้ เกิด ปัญหายาเสพติดได้อย่างแท้จริง
เครดิตภาพประกอบโดย : Waewkidja / Freepik ประสบการณ์และบทเรียนในการแก้ไขปัญหายาเสพติด