Page 4 - eMagazine
P. 4

๔                                                                                                   ปีที่ ๑๑ ฉบับที่ ๑๑๐ เดือน ตุลาคม ๒๕๖๒






         รอบรู้                        สมัชชาสุขภาพเฉพาะประเด็น


         สุขภาวะ


        โดย...พิสิษฐ์ ศรีอัคคโภคิน  กับการดูแลแบบประคับประคอง



































             “การดูแลแบบประคับประคอง” เป็นรูปแบบการ ทางวิชาการมาอ้างอิง ซึ่งผลที่ตามมาคือเกิดปัญหาใน สนับสนุนข้อมูลทางวิชาการจากคณะท�างานวิชาการ
        ดูแลทางการแพทย์ที่ผสมผสานมิติทางสังคมและ การสื่อสาร การตีความ หรือแนวทางการปฏิบัติของ ประกอบด้วย นักวิชาการจากกรมการแพทย์ กระทรวง
        วัฒนธรรม เพื่อดูแลผู้ป่วยที่อยู่ในวาระสุดท้ายของชีวิต หน่วยงานองค์กรทั้งภาครัฐและเอกชนที่แตกต่างกันมาก  สาธารณสุข สมาคมบริบาลผู้ป่วยระยะท้าย สถาบันวิจัย
        และครอบครัว ให้ผ่านช่วงเวลาที่ยากล�าบากไปด้วยกัน  อันเนื่องมาจากการอ้างอิงข้อมูลจากหลากหลายแหล่ง  ระบบสาธารณสุข และคณะแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัย
        เพื่อให้ผู้ป่วยจากไปอย่างสงบปราศจากความทุกข์ทรมาน  มีความแตกต่างของรายละเอียดในทางปฏิบัติ เพราะแต่ละ เชียงใหม่
        และครอบครัวลดโศกเศร้าเสียใจจากการตายของผู้ป่วย  ประเทศให้นิยามและความหมายของค�าที่เกี่ยวข้องกับ  ส�าหรับกระบวนการจัดท�าค�านิยามปฏิบัติการและ

        จัดเป็นเรื่องใหม่ส�าหรับประเทศไทย เพราะระบบบริการ การดูแลแบบประคับประคองที่มีความเฉพาะ เหมาะสม ค�าอธิบายของค�าที่เกี่ยวข้องกับการดูแลแบบประคับ
        สุขภาพของประเทศไทยเพิ่งรู้จักศาสตร์ในเรื่องการ       กับบริบททางสังคม วัฒนธรรม ตลอดจนระบบบริการ ประคองนี้ สช. ได้ร่วมกับองค์กรยุทธศาสตร์หลัก ๔
        ดูแลแบบประคับประคองมาไม่เกิน ๒๐ ปีนี้เอง โดย             สุขภาพของประเทศ ซึ่งปัญหาเหล่านี้นอกจากจะส่งผล องค์กร ได้แก่ กระทรวงสาธารณสุข โดยกรมการแพทย์
        องค์ความรู้นี้เริ่มก่อตัวและพัฒนาในประเทศไทย ให้เกิดมาตรฐานและคุณภาพในการดูแลผู้ป่วยที่แตกต่าง สมาคมบริบาลผู้ป่วยระยะท้าย สถาบันวิจัยระบบ
        เนื่องจากความจ�าเป็นทางประชากรศาสตร์ที่มีจ�านวน  กันแล้ว ยังส่งผลต่อการวางแผนเพื่อจัดระบบการ สาธารณสุข และคณะแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัย
        ผู้สูงอายุเพิ่มขึ้นอย่างรวดเร็ว ประกอบกับมีผู้ป่วยโรค สนับสนุนและบริหารจัดการทรัพยากรสาธารณสุขของ เชียงใหม่ ด�าเนินการมาอย่างต่อเนื่องตั้งแต่ปลายปี
        เรื้อรังเพิ่มมากขึ้น รวมถึงการมีมาตรา ๑๒ บัญญัติไว้ใน          ประเทศไทยอีกด้วย         ๒๕๖๐ โดยได้ท�างานร่วมกับกลุ่มผู้เชี่ยวชาญด้านการ

        พระราชบัญญัติสุขภาพแห่งชาติ พ.ศ.๒๕๕๐ และ         เมื่อวันที่ ๑๗ - ๑๘ กันยายน ๒๕๖๒ ที่ผ่านมา   ดูแลแบบประคับประคองจากหน่วยงานองค์กรต่างๆ
        ประชาชนเข้ามามีส่วนร่วมในการขับเคลื่อนระบบสุขภาพ คณะกรรมการจัดสมัชชาสุขภาพเฉพาะประเด็น ว่าด้วย ตลอดกระบวนการ มีการอ้างอิงเอกสารทางวิชาการ
        มากขึ้นนั่นเอง                              นิยามปฏิบัติการ (Operational definition) ของ             และเน้นกระบวนการมีส่วนร่วม รับฟังความเห็นจาก
             ดังนั้น จึงมีการจัดระบบองค์ความรู้เรื่องการดูแล ค�าที่เกี่ยวข้องกับเรื่องการดูแลแบบประคับประคอง            ผู้เชี่ยวชาญ และรับฟังความเห็นในวงกว้างทั้งทางเอกสาร
        แบบประคับประคองในประเทศไทยขึ้น โดยการผสม (Palliative care) ส�าหรับประเทศไทย ที่มี นพ. สุพรรณ  และทางเว็บไซต์ ก่อนที่จะเข้าสู่กระบวนการสมัชชา
        ผสานองค์ความรู้ในระดับสากลเข้ากับองค์ความรู้ที่เป็น ศรีธรรมมา อดีตรองปลัดกระทรวงสาธารณสุข เป็น สุขภาพเฉพาะประเด็น ซึ่งก�าหนดไว้ในมาตรา ๔๐
        บริบทของประเทศไทย ทั้งทางสังคม วัฒนธรรม ศาสนา  ประธาน และส�านักงานคณะกรรมการสุขภาพแห่งชาติ  แห่งพระราชบัญญัติสุขภาพแห่งชาติ พ.ศ.๒๕๕๐ เพื่อ
        ตลอดจนระบบบริการด้านสุขภาพ เพื่อให้เกิดการ (สช.) เป็นฝ่ายเลขานุการ ได้จัดสมัชชาสุขภาพเฉพาะ หาฉันทมติร่วมกันจากภาคส่วนต่างๆ ที่เกี่ยวข้อง
        พัฒนาระบบการดูแลแบบประคับประคองที่ดียิ่งขึ้นและ ประเด็น ว่าด้วยนิยามปฏิบัติการของค�าที่เกี่ยวข้อง          หลังจากนี้ สช. จะน�าค�านิยามปฏิบัติการฯ เสนอ

        เป็นมาตรฐานของประเทศ                        กับเรื่องการดูแลแบบประคับประคอง มีวัตถุประสงค์ ต่อคณะกรรมการสุขภาพแห่งชาติเพื่อพิจารณาให้
             ประเด็นเรื่องนิยามและความหมายของค�าที่ เพื่อหาข้อสรุปในเรื่องนิยามและความหมายของค�าที่ ความเห็นชอบและประกาศในราชกิจจานุเบกษา เพื่อให้
        เกี่ยวข้องกับเรื่องการดูแลแบบประคับประคองนั้น จัด เกี่ยวข้องกับเรื่องการดูแลแบบประคับประคองส�าหรับ สามารถน�าไปใช้เป็นแนวปฏิบัติที่เป็นมาตรฐานของ
        เป็นประเด็นหนึ่งที่ควรท�าความเข้าใจและหาข้อสรุปให้ ประเทศไทยให้เป็นแนวทางเดียว ซึ่งในเวทีสมัชชา         ประเทศ ที่หน่วยงานองค์กรต่างๆ จะได้น�าไปใช้อ้างอิง
        ตรงกัน เนื่องจากปัจจุบันพบว่า บุคลากรด้านสุขภาพ        สุขภาพฯ ครั้งนี้ ได้รับความสนใจจากผู้เกี่ยวข้องทุก      ในการท�างาน ก�าหนดนโยบาย รวมถึงการตีความทาง
        นักวิชาการ และส่วนราชการในประเทศไทยมีการใช้ ภาคส่วนในการร่วมให้ข้อคิดเห็น ข้อเสนอแนะ และ  กฎหมายและวางแผนการใช้จ่ายงบประมาณให้เป็น
        นิยามและให้ความหมายค�าเหล่านี้ไว้อย่างแตกต่าง แลกเปลี่ยนข้อมูลที่เป็นประโยชน์อย่างมาก ดังจะเห็นได้ มาตรฐานเดียวกันทั้งประเทศและทั้ง ๓ ระบบหลัก

        หลากหลาย โดยน�าเอานิยามและความหมายมาจาก       จากการที่ผู้เข้าร่วมประชุมมีความตื่นตัว ให้ความส�าคัญ  ประกันสุขภาพ ตามอ�านาจหน้าที่ของตนเองต่อไป
        นักวิชาการในประเทศต่างๆ องค์กรระหว่างประเทศทั้ง และเอาจริงเอาจังในการน�าเสนอข้อมูลเพื่อการแลก
        องค์การอนามัยโลกและองค์กรอื่นๆ ที่ได้รับความเชื่อถือ เปลี่ยนอย่างสร้างสรรค์ตลอดกระบวนการ โดยได้รับการ
   1   2   3   4   5   6   7   8   9