Page 14 - รายงานกิจกรรม KM กลุ่ม SMART Ambulance_v2
P. 14

๑๔

                 การแพทย์ ในการใช้อุปกรณ์ประจ ารถพยาบาลด้วย เช่น การใช้เปล การใช้อุปกรณ์ออกซิเจน การติดต่อสื่อสาร
                 เป็นต้น การใช้เทคโนโลยีการสื่อสารช่วยในการปฏิบัติงาน เป็นการสนับสนุนงานรักษาพยาบาล ช่วยให้สามารถ
                 ติดต่อสื่อสารกับหน่วยแพทย์ต้นทางหรือหน่วยแพทย์ปลายทางในลักษณะที่ส่งต่อผู้ป่วยได้ทั้งภาพและเสียง การ
                 ระบุต าแหน่งที่อยู่ของรถพยาบาล ต าแหน่งที่อยู่ของผู้ป่วย เส้นทางการเดินรถ การประสานงานในการควบคุมการ

                 ใช้รถและการส่งข้อมูลผู้ป่วยระหว่างการน าส่งที่สามารถส่งได้ทั้งภาพและเสียง สามารถให้ค าแนะน าจากแพทย์
                 ผู้เชี่ยวชาญที่มีจ านวนจ ากัดและไม่สามารถเดินทางไปกับรถพยาบาลได้ อันจะส่งผลให้การบริหารผู้ป่วยมี
                 ประสิทธิภาพ รวดเร็ว และปลอดภัย (ภาพที่ ๔ ตามผนวก)


                     ๕.๔  ปัจจัยที่น าไปสู่ความส าเร็จ
                           ๕.๔.๑  การสนับสนุนของผู้บังคับบัญชา
                                  ๕.๔.๑.๑  การแต่งตั้งคณะกรรมการพัฒนาระบบราชการ รพ.จันทรุเบกษา พอ. ตามค าสั่ง
                 รพ.จันทรุเบกษา พอ. (เฉพาะ) ที่ ๑๖๖/๖๐ ลง ๑๓ พ.ย.๖๐ โดยมีคณะกรรมการย่อย คณก.ฯ ด้านการขับเคลื่อน

                 ให้เป็นองค์การแห่งการเรียนรู้ นวัตกรรม และกิจกรรมพัฒนาคุณภาพ เพื่อด าเนินงานขับเคลื่อนให้เป็นองค์การ
                 แห่งการเรียนรู้ฯ (ภาพที่ ๒ ตามผนวก)
                                  ๕.๔.๑.๒  ก าหนดให้มีแผนการจัดการความรู้อยู่ในแผนปฏิบัติราชการ รพ.จันทรุเบกษา

                 พอ. ปี ๖๑ ในมุมมองด้านการเรียนรู้และพัฒนา ในเป้าประสงค์ “LP1 พัฒนาการจัดการความรู้สู่องค์การ
                 แห่งการเรียนรู้” และ มีแผนด าเนินการกลุ่มกิจกรรมพัฒนาคุณภาพ ประจ าปี ๖๑ ที่ชัดเจน สอดคล้องกับ
                 ทอ. (ภาพที่ ๓ ตามผนวก)
                                  ๕.๔.๑.๓  ปัจจัยอื่น ๆ : การด าเนินงานภายในหน่วย

                                          ๕.๔.๑.๓ (๑)  การใช้เทคโนโลยีช่วยเพิ่มประสิทธิภาพในการปฏิบิงาน
                                          ๕.๔.๑.๓ (๒)  Morning brief
                                          ๕.๔.๑.๓ (๓)  การสอนงาน และระบบพี่เลี้ยง
                                          ๕.๔.๑.๓ (๔)  การฝึกอบรม

                                          ๕.๔.๑.๓ (๕)  การถอดบทเรียนจากเหตุการณ์ที่ปฏิบัติ (After Action
                 Review : AAR)
                                          ๕.๔.๑.๓ (๖)  การจัดท าชุมชนนักปฏิบัติเรื่องการขับรถพยาบาลในการ
                 ช่วยเหลือกู้ภัยกรณีอากาศยานเกิดเหตุฉุกเฉินหรืออุบัติเหตุ
   9   10   11   12   13   14   15   16   17   18   19