Page 13 - รายงานกิจกรรม KM กลุ่ม SMART Ambulance_v2
P. 13
๑๓
ระยะทางไป-กลับ จ านวน คุณภาพ
ล าดับ สถานที่ จังหวัด
ต่อเที่ยว (กม.) (เที่ยว) สัญญาณ
๑ รพ.ก าแพงแสน นครปฐม ๗๐ ๓ ดีมาก
๒ รพ.เจ้าพระยายมราช สุพรรณบุรี ๑๘๐ ๓ ดีมาก
๓ รพ.นครปฐม นครปฐม ๑๐๐ ๑๖ ดีมาก
๔ รพ.สามชุก สุพรรณบุรี ๓๗๐ ๑ ดีมาก
๕ รพ.สมเด็จพระสังฆราชองค์ที่ ๑๗ สุพรรณบุรี ๘๐ ๓ ดีมาก
๖ รพ.ภูมิพลอดุลยเดช พอ. กรุงเทพ.ฯ ๒๑๐ ๕ ดีมาก
๗ รพ.ราชบุรี ราชบุรี ๒๒๐ ๒ ดีมาก
๘ รพ.พระมงกุฎเกล้า กรุงเทพฯ ๒๔๐ ๒ ดีมาก
๙ รพ.รามาธิบดี กรุงเทพฯ ๒๒๐ ๒ ดีมาก
๑๐ รพ.พหลพลพยุหเสนา กาญจนบุรี ๑๖๐ ๒ ดีมาก
๕.๓.๒ แผนการด าเนินกิจกรรมการจัดการความรู้ ๗ ขั้นตอน ตั้งแต่ ๑ พ.ย.๖๐ ถึง ๓๑ มี.ค.๖๑
ขั้นตอนการปฏิบัติ ระยะเวลาด าเนินการ
การจัดการความรู้ พ.ย.๖๐ ธ.ค.๖๐ ม.ค.๖๑ ก.พ.๖๑ มี.ค.๖๑
๑. การบ่งชี้ความรู้
๒. การสร้างและแสวงหาความรู้
ขั้นตอนการปฏิบัติ ระยะเวลาด าเนินการ
การจัดการความรู้ พ.ย.๖๐ ธ.ค.๖๐ ม.ค.๖๑ ก.พ.๖๑ มี.ค.๖๑
๓. การจัดการความรู้ให้เป็นระบบ
๔. การประมวลและกลั่นกรองความรู้
๕. การเข้าถึงความรู้
๖. การแบ่งปันแลกเปลี่ยนความรู้
๗. การเรียนรู้
หมายเหตุ แผนการปฏิบัติ ปฏิบัติจริง
๕.๓.๓ การออกแบบระบบ
การใช้เทคโนโลยีการสื่อสารไร้สายผ่านระบบอินเตอร์เน็ตช่วยเพิ่มประสิทธิภาพในการ
ปฏิบัติงาน เนื่องจากพลขับรถ หมวดขนส่ง ฯ ไม่เพียงแต่ท าหน้าที่เป็นพลขับรถเพียงอย่างเดียว นอกจากต้อง
ศึกษาเส้นทางการเดินรถเพื่อให้การรับ-ส่งผู้ป่วยเป็นไปอย่างรวดเร็วและปลอดภัยแล้ว ยังคงต้องช่วย จนท.ทาง