Page 12 - รายงานกิจกรรม KM กลุ่ม SMART Ambulance_v2
P. 12

๑๒

                                  ๕.๓.๑.๕  การเข้าถึงความรู้
                                          ๕.๓.๑.๕ (๑)  สมาชิกกลุ่มฯ ทุกคน สามารถศึกษาได้ด้วยตนเองจากเอกสาร
                 คู่มือฯ ที่จัดท าขึ้นและเก็บไว้ที่หน่วย จัดท าเป็นเอกสารอิเล็กทรอนิกส์ (PDF File) ที่สามารถเปิดอ่านได้จาก
                 โทรศัพท์เคลื่อนที่ (Smart phone) ของแต่ละคน การจัดท าในรูปของสื่ออิเล็กทรอนิกส์น าลงใน Website ของ

                 รพ.จันทรุเบกษา พอ. การส่งผ่านทาง Social media : Application LINE ของกลุ่ม “มว.ขส.ผรก.รพ.” รวมทั้ง
                 การสอดแทรกความรู้เป็นหัวข้อหนึ่งในการอบรมหน้าแถว (Morning brief) ทุกวัน ร่วมกับประชุมทบทวน
                 ประจ าเดือนของหน่วย รพ.จันทรุเบกษา พอ.มีเว็บไซต์การจัดการความรู้ เพื่อเป็นแหล่งรวบรวมข้อมูลการ

                 จัดการความรู้ของหน่วย คือ
                             http://chandruhospital.rtaf.mi.th/home/index.php/forum/index.html
                 นอกจากนั้นยังน าข้อมูลคลังความรู้ต่าง ๆ เก็บในระบบ NAS ที่จะท าขึ้นภายใต้มาตรการรักษาความปลอดภัย
                 ระบบสารสนเทศ เนื่องจากข้อมูลความรู้บางอย่างที่เกี่ยวกับยุทธการต้องมีชั้นความลับ แต่ละหน่วยสามารถ
                 เข้าถึงความรู้ น าความรู้เก็บในคลังความรู้เพื่อปรับปรุงข้อมูลให้ทันสมัยอยู่เสมอและน าความรู้ไปใช้งานได้

                 อย่างสะดวก
                                          ๕.๓.๑.๕ (๒)  การจัดท าเป็นขั้นตอนการปฏิบัติแบบ Check List ส าหรับการ
                 ตรวจสอบรถพยาบาลประจ าวันตามแบบ แบบ ขส.ทอ.ป๑ เพื่อให้พลขับรถน าออกไปใช้ได้อย่างสะดวก

                                  ๕.๓.๑.๖  การแบ่งปันแลกเปลี่ยนความรู้
                                          ๕.๓.๑.๖ (๑)  จัดเป็นชุมชนนักปฏิบัติ (CoP) เรื่องการขับรถพยาบาลใน
                 สนามบิน
                                          ๕.๓.๑.๖ (๒)  การอบรมหน้าแถว (Morning brief) ทุกวัน

                                          ๕.๓.๑.๖ (๓)  จัดการอบรมทบทวนและฝึกปฏิบัติฝึกอบรมภายในหน่วยโดยผู้ที่
                 มีความรู้ความช านาญเป็นพี่เลี้ยงเดือนละ ๒ ครั้ง
                                          ๕.๓.๑.๖ (๔)  แลกเปลี่ยนประสบการณ์กับ จนท.แพทย์/พยาบาลเวชศาสตร์
                 การบิน รพ.จันทรุเบกษา พอ.และห้องอุบัติเหตุ-ฉุกเฉินของ รพ.จันทรุเบกษา พอ. ทุกเดือน เพื่อหาโอกาส

                 พัฒนาให้มีประสิทธิภาพมากขึ้น
                                  ๕.๓.๑.๗  การเรียนรู้
                                          สมาชิกกลุ่มฯ ได้น าคู่มือไปใช้งานจริงทั้งผู้ที่มีประสบการณ์สูงและผู้ที่มี
                 ประสบการณ์น้อยกว่า ทุกคนสามารถปฏิบัติตามได้อย่างถูกต้อง และจากการประชุมบุคลากรของหน่วย

                 ประจ าเดือน ได้ท าการสรุปบทเรียนที่ได้รับเพื่อน าไปพัฒนาให้ดีขึ้นเพื่อให้เกิดความรู้และทักษะอย่างต่อเนื่อง
                 ตามแนวคิด SECI model สิ่งที่ได้รับจากการเรียนรู้เพิ่มเติม คือ
                                          ๕.๓.๑.๗ (๑)  จนท.พลขับรถ ยังไม่มีประสบการณ์จริงในการใช้รถพยาบาล

                 ช่วยเหลือกู้ภัยกรณีอากาศยานเกิดเหตุฉุกเฉินหรืออุบัติเหตุ ครบทุกคน จึงจ าเป็นต้องจัดวงรอบในการฝึก
                 ทบทวนการปฏิบัติตามคู่มือฯ ที่จัดท าขึ้น เพื่อให้เกิดทักษะความช านาญ พร้อมที่จะปฏิบัติงานได้อย่างมี
                 ประสิทธิภาพเมื่อเกิดเหตุการณ์จริง
                                          ๕.๓.๑.๗ (๒)  จากการทดสอบการใช้อุปกรณ์สื่อสารไร้สายทางไกลระหว่าง
                 รถพยาบาลที่เดินทางรับ-ส่งผู้ป่วยยังสถานที่ต่าง ๆ กับ รพ.จันทรุเบกษา พอ. ระหว่าง ม.ค. – มี.ค.๖๑ จ านวน

                 ๓๙ เที่ยว พบว่าสัญญาณภาพและเสียงใช้งานได้ดี โดยเฉพาะการดูภาพและพูดผ่านเครื่องโทรศัพท์มือถือ แต่
                 การใช้งานกับเครื่องคอมพิวเตอร์ชนิดตั้งโต๊ะจะดูภาพได้อย่างเดียว ถ้าต้องการให้สามารถพูดโต้ตอบได้ จะต้อง
                 ติดตั้งไมค์โครโฟนกับเครื่องคอมพิวเตอร์ ซึ่งอยู่ระหว่างด าเนินการทดลองใช้งานที่ห้องอุบัติเหตุ ฯ
   7   8   9   10   11   12   13   14   15   16   17