Page 10 - รายงานกิจกรรม KM กลุ่ม SMART Ambulance_v2
P. 10
๑๐
(๒) การอ่านแผนที่พิกัด การใช้เครือข่ายวิทยุ
ติดต่อกับหอบังคับการบินและ รพ.จันทรุเบกษา พอ.
(๓) ศึกษาเส้นทางในสนามบินและเส้นทางอื่นที่
มีโอกาสใช้งานไว้ล่วงหน้า
(๔) กรณี อ.ลงทางวิ่ง ๒๑ ด้านทิศเหนือหรือ
ทางวิ่ง ๐๓ ด้านทิศใต้ ให้รถพยาบาลสนามบินเตรียมพร้อม ณ จุดที่ก าหนดและรถพยาบาลกู้ภัยคันที่ ๒ จาก
รพ.จันทรุเบกษา พอ. จอดรอด้านข้างศูนย์บริการการบิน
๕.๓.๑.๒ (๒.๑) การขับขี่รถพยาบาลอย่างปลอดภัย
ผู้เชี่ยวชาญ
(๑) น.อ.สมพร ตรีราภี ต าแหน่ง ผอ.กพน.ขส.ทอ.
(๒) ร.อ.สมชาย ซีจันทรา ต าแหน่ง หน.มว.ขส.
ผรก.กอก.รพ.จันทรุเบกษา พอ.
ความเห็นของผู้เชี่ยวชาญและการประยุกต์ใช้
(๑) วิธีการขับขี่รถพยาบาลอย่างปลอดภัย
ต้องปฏิบัติตามระเบียบทั้งในส่วนของ ทอ.และของกรมการขนส่งทางบก
(๒) วิธีการใช้อุปกรณ์ในรถพยาบาลที่พลขับรถ
ต้องสามารถใช้งานได้อย่างถูกต้อง
(๓) พลขับใหม่ต้องมีพี่เลี้ยงสอนงานจนกระทั่ง
สามารถปฏิบัติงานได้จริงจึงให้ขับรถพยาบาลกู้ภัยได้
๕.๓.๑.๒ (๒.๓) การดูแลบ ารุงรักษารถพยาบาล
ผู้เชี่ยวชาญ
(๑) น.อ.สมพร ตรีราภี ต าแหน่ง ผอ.กพน.ขส.ทอ.
(๒) ร.อ.สมชาย ซีจันทรา ต าแหน่ง หน.มว.ขส.
ผรก.กอก.รพ.จันทรุเบกษา พอ.
ความเห็นของผู้เชี่ยวชาญและการประยุกต์ใช้
(๑) การปฏิบัติบ ารุงรถพยาบาลต้องปฏิบัติตาม
วงรอบที่ก าหนดไว้ในคู่มือฯ อย่างเคร่งครัด และมีการตรวจสอบในช่วงเช้าก่อนปฏิบัติงานทุกวัน
(๒) แบบ ขส.ทอ.ป๑ ที่ใช้ตรวจสอบรถยังไม่
ครอบคลุมสิ่งที่จ าเป็นต้องตรวจสอบในรถพยาบาลกู้ภัย ต้องปรับปรุงรายการให้ครอบคลุม
(๓) ควรตรวจสอบความพร้อมของอุปกรณ์
แพทย์หลังใช้รถทันที ซึ่งการตรวจเพียงวันละ ๑ ครั้งไม่เพียงพอ
๕.๓.๑.๒ (๒.๔) การใช้เทคโนโลยีการสื่อสาร
ผู้เชี่ยวชาญ
- น.อ.อภิกิตติ์ ศรีเสริมโภค ต าแหน่ง รอง ผอ.
รพ.จันทรุเบกษา พอ.