Page 6 - รายงานกิจกรรม KM กลุ่ม SMART Ambulance_v2
P. 6

๖

                                          ๕.๑.๒.๔ (๒)  ด้านอุปกรณ์ พลขับรถ หมวดขนส่ง ฯ ไม่เพียงแต่ท าหน้าที่เป็น
                 พลขับรถเพียงอย่างเดียว นอกจากต้องศึกษาเส้นทางการเดินรถเพื่อให้การรับ-ส่งผู้ป่วยเป็นไปอย่างรวดเร็วและ
                 ปลอดภัยแล้ว ยังคงต้องช่วย จนท.ทางการแพทย์ ในการใช้อุปกรณ์ประจ ารถพยาบาลด้วย เช่น การใช้เปล
                 การใช้อุปกรณ์ออกซิเจน การติดต่อสื่อสาร เป็นต้น แต่ปัจจุบันเครื่องมือที่ส าคัญซึ่งควรมีใช้งาน เช่น อุปกรณ์

                 น าทางด้วยระบบก าหนดต าแหน่งบนโลก (Global Positioning System : GPS) อุปกรณ์สื่อสารประจ าตัว ไม่
                 มีใช้งาน และที่ส าคัญที่สุดในขณะน าส่งผู้ป่วย จนท.ทางการแพทย์ที่มีจ านวนจ ากัดในรถพยาบาล อาจจะต้อง
                 ช่วยเหลือผู้ป่วย ท าให้พลขับรถต้องท าหน้าที่ติดต่อสื่อสารกับหน่วยแพทย์ต้นทางหรือหน่วยแพทย์ปลายทางใน

                 ลักษณะที่ส่งต่อข้อความ ท าให้ไม่สามารถบริหารผู้ป่วยได้อย่างมีประสิทธิภาพ การจัดการความรู้ครั้งนี้จะช่วย
                 ให้พลขับรถ ผู้เกี่ยวข้องอื่น ๆ และ จนท.ทางการแพทย์ สามารถใช้รถพยาบาลได้อย่างมีประสิทธิภาพ ทั้งการ
                 ระบุต าแหน่งที่อยู่ของรถพยาบาล ต าแหน่งที่อยู่ของผู้ป่วย เส้นทางการเดินรถ การประสานงานในการควบคุม
                 การใช้รถและการส่งข้อมูลผู้ป่วยระหว่างการน าส่งที่สามารถส่งได้ทั้งภาพและเสียง สามารถให้ค าแนะน าจาก
                 แพทย์ผู้เชี่ยวชาญที่มีจ านวนจ ากัดและไม่สามารถเดินทางไปกับรถพยาบาลได้ อันจะส่งผลให้การบริหารผู้ป่วย

                 มีประสิทธิภาพ รวดเร็ว และปลอดภัย ซึ่งเป็นการน าเทคโนโลยีเข้ามาช่วยในการปฏิบัติภารกิจของ ทอ.ให้มี
                 ประสิทธิภาพยิ่งขึ้นตามนโยบาย ผบ.ทอ.และยุทธศาสตร์ ทอ.
                                  ๕.๑.๒.๕  จากภารกิจของหมวดขนส่ง ฯ และปัญหาจากปัจจัยตามข้อ ๕.๑.๒.๔ กลุ่มฯ

                 ได้ร่วมกันพิจารณาคัดเลือกกิจกรรมจัดการความรู้ โดยก าหนดเกณฑ์การคัดเลือกกิจกรรม ดังนี้

                   ระดับ   ความเป็นไปได้ :   ผลกระทบ : ระดับความรุนแรงที่ส่งผล   ตรงตามความต้องการของหน่วย :

                   คะแนน   โอกาสความส าเร็จ   ต่อความส าเร็จของภารกิจหลักและ   เชื่อมโยงกับวิสัยทัศน์และ
                            ในการแก้ปัญหา   ความถูกต้องในการปฏิบัติ           ยุทธศาสตร์ของหน่วย
                     ๑      ร้อยละ ๐ – ๒๕   ปฏิบัติภารกิจได้ส าเร็จโดยไม่ต้อง    ระดับชาติ
                                             แก้ปัญหาใด ๆ


                   ระดับ   ความเป็นไปได้ :   ผลกระทบ : ระดับความรุนแรงที่ส่งผล   ตรงตามความต้องการของหน่วย :
                   คะแนน   โอกาสความส าเร็จ   ต่อความส าเร็จของภารกิจหลักและ   เชื่อมโยงกับวิสัยทัศน์และ
                            ในการแก้ปัญหา   ความถูกต้องในการปฏิบัติ           ยุทธศาสตร์ของหน่วย

                     ๒      ร้อยละ ๒๖ – ๕๐   ภารกิจส าเร็จ แต่ต้องใช้เวลามากขึ้น    ระดับ ทอ.
                     ๓      ร้อยละ ๕๑ – ๗๕   ภารกิจส าเร็จ แต่มีอาจมีความผิดพลาด   ระดับ พอ.

                                             ท าให้เกิดความล่าช้าในการปฏิบัติ
                     ๔     ร้อยละ ๗๖ – ๑๐๐   ภารกิจไม่ส าเร็จตามวัตถุประสงค์    ระดับ รพ.จันทรุเบกษา พอ.


                                                   ผลการคัดเลือกกิจกรรมของกลุ่ม สรุปว่า “ภารกิจการช่วยเหลือกู้ภัย” มีคะแนน
                 สูงที่สุด เนื่องจากเป็นภารกิจสนับสนุนยุทธการที่ส าคัญ อันจะส่งผลกระทบต่อความส าเร็จในการสนับสนุนการ
                 ช่วยชีวิตผู้ท าการในอากาศที่ประสบเหตุจากอากาศยาน
   1   2   3   4   5   6   7   8   9   10   11