Page 119 - 25620605121318noศธ 021028614file02_2
P. 119

ข้อมูลเพิ่มเติมส าหรับผู้จัดการเรียนรู้


                         ความรุนแรงทางเพศ ครอบคลุมถึงผลของการกระท าที่เกิดจากความสัมพันธ์เชิงอ านาจ รวมทั้ง
                  การคุกคามหรือการข่มขู่ด้วย การใช้อ านาจยังหมายรวมถึงการละเว้นไม่ปฏิบัติหรือการปล่อยปละละเลย
                  ไม่ปฏิบัติ ยังผลท าให้เกิดความรุนแรงอย่างเห็นได้ชัดจากการกระท านั้น ดังนั้น การใช้อ านาจ หรือการใช้

                  ก าลังทางกาย จึงควรหมายรวมถึงการละเว้นไม่กระท าหรือการกระท าทุกประเภทที่ก่อให้เกิดผลเสีย ทั้งต่อ
                  ร่างกาย จิตใจ และเพศของผู้อื่น อาจแบ่งความรุนแรงทางเพศ ได้ดังนี้
                         1. ความรุนแรงต่อร่างกาย จิตใจ และเพศที่เกิดขึ้นในครอบครัว ซึ่งหมายรวมถึงการทุบตีภรรยา
                  (Battering) ความรุนแรงทางเพศต่อเด็กหญิงในบ้าน ความรุนแรงต่อเด็กและคนชราในบ้าน ความรุนแรง

                  ที่เกิดจากสินสอดของฝ่ายหญิง (Dowry-related violence) การข่มขืนโดยคู่สมรส (Marital rape)
                  การขลิบอวัยวะเพศหญิง (Female genital multilation) และการปฏิบัติตามประเพณีอื่น ๆ ที่เป็น
                  อันตรายต่อผู้หญิง ความรุนแรงที่เกิดจากคนอื่นที่ไม่ใช่คู่สมรส (Non – spousal violence) และความ
                  รุนแรงจากการหาประโยชน์บนร่างกายผู้หญิงโดยการอนาจาร (Violence related to exploitation)

                         2. ความรุนแรงทางร่างกาย ทางเพศ และทางจิตใจที่เกิดขึ้นในชุมชนทั่วไปหรือที่สาธารณะ
                  รวมทั้งการข่มขืนกระท าช าเรา การถูกลวนลามล่วงละเมิดทางเพศ หรือท าอนาจาร (Sexual harassment)
                  ในที่ท างาน ในสถานศึกษาและที่อื่น ๆ การค้าผู้หญิงข้ามถิ่นหรือข้ามชาติ (Trafficking) และการบังคับ

                  ค้าประเวณี (Forced prostitution)
                         3. ความรุนแรงทางร่างกาย ทางเพศ และทางจิตใจ ที่เกิดจากการกระท าของรัฐ ไม่ว่าจะเกิดขึ้น
                  ที่ใดก็ตามหรือเกิดจากการปล่อยปละละเลยของรัฐในการแก้ปัญหาอย่างจริงจัง การกระท ารุนแรงต่อผู้หญิง
                  ยังหมายถึงการท าหมันหรือบังคับให้ท าแท้ง การขืนบังคับหรือใช้ก าลังให้ใช้วิธีการป้องกันการตั้งครรภ์
                  โดยที่ผู้หญิงไม่เต็มใจ หรือการเลือกเพศทารกโดยการฆ่าทารกเพศหญิง เป็นต้น








                         ที่มา :

                                     นันทพันธ์  ชินล้ าประเสริฐ. (2546).  การพัฒนาระบบฐานข้อมูล

                                และสังเคราะห์งานวิจัยด้านความรุนแรงในสังคมไทย. คณะพยาบาลศาสตร์ มหาวิทยาลัยอัสสัมชัญ.

                               (เป็นโครงการที่ได้รับทุนอุดหนุนจากสถาบันวิจัย.)
















                                                                                                               115
   114   115   116   117   118   119   120   121   122   123   124