Page 20 - 25620605121318noศธ 021028614file02_2
P. 20
กำรวัดและประเมินผล
1. สังเกตกำรมีส่วนร่วมจำกกำรท ำกิจกรรมกลุ่ม
2. กำรแลกเปลี่ยนเรียนรู้จำกกำรระดมควำมคิดเห็น
ข้อเสนอแนะส ำหรับผู้จัดกำรเรียนรู้
1. ผู้จัดกำรเรียนรู้ควรเลือกใช้กิจกรรมตุ๊กตำล้มลุกเป็นกิจกรรมแรกเนื่องจำกเป็นกิจกรรมที่ช่วย
สร้ำงควำมคุ้นเคย สร้ำงควำมไว้วำงใจกันระหว่ำงผู้จัดกำรเรียนรู้และผู้เรียน ก่อนที่จะเข้ำสู่กระบวนกำร
อบรม
2. หำกผู้เรียนเคยเล่นตุ๊กตำล้มลุกแบบอื่นมำ เช่น ให้ตุ๊กตำยืนหันหน้ำเข้ำหำผู้เล่น (ผู้ผลัก) คนใด
คนหนึ่ง แล้วให้ผู้เล่นทั้ง 2 คน ผลักตุ๊กตำไปข้ำงหน้ำข้ำงหลัง หรือให้ตุ๊กตำยืนกลำงวงล้อมของผู้เล่น แล้วให้
ผู้เล่นผลักตุ๊กตำไปรอบ ๆ วง มีข้อสังเกตว่ำ
ทั้งสองกรณี ผู้เล่นเป็นตุ๊กตำไม่สำมำรถปล่อยตัวได้ เพรำะแนวกำรผลักไม่สำมำรถไปได้
กับกำรวำงเท้ำ
ทั้งสองกรณี จะท ำให้ผู้เล่นเกิดควำมรู้สึกไม่ปลอดภัย ไม่กล้ำเล่น หรือไม่ไว้วำงใจกัน ซึ่ง
มีควำมขัดแย้งกับประเด็นส ำคัญที่กิจกรรมนี้ต้องกำรคือ “ควำมมั่นใจ เชื่อใจ”
ข้อสรุปส ำคัญจำกกิจกรรม
1. กำรสร้ำงควำมไว้วำงใจเป็นพื้นฐำนส ำคัญที่จะเอื้อให้เกิดบรรยำกำศกำรสื่อสำรเรื่องเพศวิถีศึกษำ
ด้วยควำมเข้ำใจและไม่ด่วนตัดสินคุณค่ำและกำรรักษำควำมลับในกำรแลกเปลี่ยนเรียนรู้ร่วมกัน
2. กำรสร้ำงควำมคุ้นเคยและก ำหนดข้อตกลงกำรเรียนรู้ร่วมกันเพื่อเอื้อให้เกิดบรรยำกำศแห่ง
กำรเรียนรู้
ที่มำ : ทักษะกำรเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21. วันที่ค้นข้อมูล 2 สิงหำคม 2561. เข้ำถึงได้จำก
https://sites.google.com/site/praewjamjureesbt/khlangbthkhwam/.
16