Page 57 - 25620605121318noศธ 021028614file02_2
P. 57
ใบควำมรู้ที่ 7
เรื่อง 10 วิธีป้องกันภัยจำกอินเทอร์เน็ตส ำหรับเด็กและเยำวชน
ศูนย์วิจัยกสิกรไทย เสนอ 6 แนวทำงส ำหรับผู้ใหญ่ และ 4 แนวทำงส ำหรับเด็กในกำรป้องกัน
อันตรำยจำกอินเทอร์เน็ตที่มีกับเด็ก ลดช่องว่ำงด้ำนเทคโนโลยี และสกัดกั้นควำมเสียหำยต่ออนำคตของชำติ
ศูนย์วิจัยกสิกรไทยประมำณกำรว่ำ ในประเทศไทยมีผู้ใช้อินเทอร์เน็ตรวมประมำณ 4.5 ล้ำนคน โดยผู้ใช้
ส่วนใหญ่เป็นกลุ่มเยำวชน และแม้ว่ำอินเทอร์เน็ตจะมีประโยชน์ในด้ำนต่ำง ๆ มำกมำย แต่ก็มีอันตรำยไม่น้อย
ส ำหรับเด็ก โดยเฉพำะอย่ำงยิ่งกลำยเป็นแหล่งกำรเกิดปัญหำกำรล่อลวงเด็กและก่อให้เกิดควำมเสียหำย
กับตัวเด็ก ซึ่งเป็นก ำลังส ำคัญในกำรพัฒนำประเทศที่ยังไม่ได้รับกำรแก้ไข ปัญหำของกำรใช้อินเทอร์เน็ต
เพื่อล่อลวงเด็ก ไม่ว่ำจะเป็นกำรล่อลวงไปข่มขืน ท ำอนำจำร หรือแม้แต่กำรลักพำตัว โดยเฉพำะกำรพูดคุย
ในห้องแชตรูมผ่ำนอินเทอร์เน็ต ที่น ำไปสู่กำรนัดพบกันของคู่สนทนำทั้งสองฝ่ำยซึ่งไม่เคยเห็นหน้ำกันมำก่อน
รวมทั้งเนื้อหำที่น ำเสนอในหน้ำเว็บไซต์ที่เชื่อมโยงกันทั่วโลก มีจ ำนวนไม่น้อยที่น ำเสนอเนื้อหำที่ไม่
เหมำะสมกับเด็ก เช่น เนื้อหำทำงเพศ เนื้อหำเกี่ยวกับควำมรุนแรง หรือกำรเสนอขำยสินค้ำที่ไม่เหมำะสม
หรือส่งเสริมกำรใช้ควำมรุนแรง ศูนย์วิจัยกสิกรไทย ระบุว่ำ แนวทำงในกำรป้องกันและแก้ปัญหำ ควรได้รับ
ควำมร่วมมือด้วยกันทุกฝ่ำย โดยเฉพำะผู้ปกครองควรสอดส่องดูแลกำรใช้อินเทอร์เน็ตของเยำวชน
อย่ำงใกล้ชิด และให้ค ำแนะน ำในกำรใช้อินเทอร์เน็ตอย่ำงถูกต้องและเหมำะสม อย่ำงไรก็ตำม ปัญหำ
ที่เกิดขึ้นกับกลุ่มผู้ปกครองก็คือ ควำมแตกต่ำงระหว่ำงควำมรู้ควำมเข้ำใจเทคโนโลยีระหว่ำงเด็ก
และผู้ปกครอง ซึ่งจัดว่ำเป็น Digital Divide อีกประเภทหนึ่งที่ต้องพิจำรณำและท ำให้ผู้ปกครองต้องหันมำ
กระตุ้นเตือนตนเองให้เร่งหันมำศึกษำและท ำควำมเข้ำใจในเรื่องเทคโนโลยีให้มำกขึ้น โดยเฉพำะส่วนที่
เกี่ยวข้องกับภำวะควำมเสี่ยงจำกภัยอันตรำยที่จะเกิดขึ้นกับเยำวชนหรือลูกหลำน ศูนย์วิจัยกสิกรไทย
ได้รวบรวมแนวทำงในกำรป้องกันปัญหำในกำรใช้งำนอินเทอร์เน็ตให้กับกลุ่มผู้ปกครองและกลุ่มเยำวชน
ดังนี้
ในส่วนของผู้ปกครองท ำได้คือ
1. ไม่ควรปล่อยให้เยำวชนหรือบุตรหลำนเล่นอินเทอร์เน็ตตำมล ำพัง
2. กระตุ้นให้เด็กเล่ำเรื่องที่เกี่ยวกับสิ่งที่พบเห็นในอินเทอร์เน็ตให้กับผู้ปกครองได้รับทรำบ และให้
ร้องขอควำมช่วยเหลือหรือขอค ำปรึกษำเมื่อพบกับปัญหำ
3. ท ำควำมเข้ำใจกับเด็กเกี่ยวกับกำรใช้อินเทอร์เน็ต เพื่อป้องกันเด็กจำกเว็บไซต์ที่ไม่เหมำะสม
4. แนะน ำเด็กในกำรใช้อีเมล์ และให้ตรวจสอบหรือสอบถำมเกี่ยวกับกำรส่งอีเมล์ที่ส่งมำให้เด็กอยู่เสมอ
5. ให้ค ำแนะน ำเกี่ยวกับกำรใช้แชตรูม หรือห้องสนทนำเกี่ยวกับข้อมูลที่เด็กควรปกปิดไว้ ไม่ควร
บอกให้คู่สนทนำรู้ เช่น นำมสกุล ที่อยู่ หรือรหัสผ่ำนที่เป็นควำมลับกับผู้ที่ไม่เคยรู้จัก หรือเริ่มรู้จักกัน
ทำงอินเทอร์เน็ต
6. ควรวำงคอมพิวเตอร์ที่เด็กใช้ไว้ในที่เปิดเผย เช่น ห้องนั่งเล่น มำกกว่ำที่จะวำงไว้ในห้องนอน
หรือห้องส่วนตัว
53