Page 262 - ธรรมะบรรยาย2564
P. 262
ื่
เกิดโรคตรงไหน เครองเอ็กซเรย์นั้นก็จะสามารถมองเห็นได้ แต่ตาเปล่ามองไม่เห็น เพราะฉะนั้น ตา
ธรรมดาจะไม่รู้ไม่เข้าใจธรรมะที่ว่า สิ่งใดสิ่งหนึ่งเกิดขึ้นเป็นธรรมดาสิ่งนั้นก็ดับไปเป็นธรรมดา เรา
พูดได้เราท่องได้ แต่ความเข้าใจของเรายังไม่ถึงขั้น เพราะฉะนั้น จึงได้ดวงตาเห็นธรรม เกิดความรู้
็
ความเข้าใจจริง ๆ เมื่อเปนเช่นนี้ จึงเปรียบเทียบเหมือนกับปัญจวัคคีย์ก็จบหมอแล้วก็มีเครื่องมือ
่
็
เอกซเรย์ เพื่ออธิบายต่อไปว่านี่ในร่างกายของมนุษย์มันเป็นอยางนี้ นี่กระดูกเป็นอย่างนี้ ตับเป็น
็
อย่างนี้ ไตเป็นอย่างนี้ ปอดเป็นอย่างนี้ เครื่องเอกซเรย์บอกว่าอยู่ตรงตำแหน่งนั้น ตำแหน่งนี้ มันก็
ชี้ให้เห็น หมอที่นี่เขาก็เห็นด้วยเครื่องเอ็กซเรย์ มันก็เลยเกิดความหายสงสัย อ้อมันเป็นอย่างนี้เอง
เพราะฉะนั้น
พระพุทธเจ้าจึงเรียกปัญจวัคคีย์ทั้ง ๕ ที่มีดวงตาพิเศษ “ธรรมจักษุ” เกิดขึ้น เมื่อเรียกมาแล้ว
ั
พระองค์ทรงก็ตรัสว่า “รูปง ภิกขะเว อนัตตา” ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย รูปไม่ใช่ตัวตน “รูปัญจะหิทัง
ภิกขะเว อัตตา อะภะวิสสะ, นะยิทัง รูปัง อาพาธายะ สังวัตเตยยะ” ถ้ารูปเป็นตัวตนของเราแล้ว
็
ไซร้ รูปนี้ก็ไม่ควรเป็นไปเพื่อการเปลี่ยนแปลงและเกิดความอาพาธ ความบาดเจบ หรือการเจ็บป่วย
ไม่น่าจะเป็นอย่างนั้นแล้ว ก็ตั้งใจว่า “ลัพเภถะ จะ รูเป, เอวัง เม รูปัง โหตุ, เอวัง เม รูปัง มา อะโห
สีติ) รูปของเราควรจะเป็นอย่างนี้ หมายความว่า ต้องหล่อต้องสวยให้คงที่ตลอด… ว่ากันไปเรื่อย ๆ
แบบนี้ เพราะรูปนั้นมันเป็นเปลี่ยนแปลงไปตลอด ดูอวัยวะทุกส่วน ไม่ว่าส่วนใด ตับ ไต ไส้ พุงที่เรา
มองไม่เห็นนี่ แต่มีกล้องเอ็กซเรย์ส่องเข้าไปก็จะเห็น เห็นการเปลี่ยนแปลง เหนการทำงานของมัน
็
เพราะฉะนั้น พระพุทธเจ้าจึงตรัสว่าการที่เธอเห็นนี่ มันไม่ใช่เห็นด้วยตาธรรมดา มันเห็นด้วยตาใน
เราชี้ไปนี่คือปอด นี่คือตับนี่คือไต เธอก็เห็น พอเห็นแล้วเธอก็พิจารณาได้ว่า มันเป็นอนัตตาคือว่า
มันไม่ใช่ตัวตน ทำไม ก็เพราะว่ามันเป็นไปด้วยความอาพาธ มันไม่คงที่ มันไม่ได้เป็นไปตามความ
่
ปรารถนาของเราเลยวาส่วนใดของร่างกาย ไล่มาตั้งแต่รูป เวทนา สัญญา สังขาร วิญญาณก็เป็น
ทำนองเดียวกัน ไม่ใช่ตัวตน ปัญจวัคคีย์เมื่อได้ฟังก็เกิดความเบื่อหน่าย โอ้เป็นอย่างนี้จริง ๆ ที่นี้ส่วน
ใด ๆ ก็เป็นอนัตตาทั้งหมด ก็เบื่อหน่ายในสังขาร เบื่อหน่ายในรป เบื่อหน่ายในวิญญาณ เบื่อหน่าย
ู
ในสัญญาแล้วก็เบื่อหน่ายในวิญญาณ เพราะเห็นทุกส่วนทุกอย่างนี่มันเป็นอนิจจัง คือไม่เที่ยงแท้
สุดท้ายปัญจวัคคีย์ทั้ง ๕ ก็บรรลุเป็นพระอรหันต์ จิตไม่ยึดมั่นถือมั่นในตัวตนอีกต่อไป จึงได้บอกว่า
ิ
“ปัญจะวัคคิยานัง ภิกขูนัง อะนุปาทายะ อาสะเวห จิตตานิ วิมุจจิงสูติ” จิตของพระภิกษุปัญจวัคคีย์
พ้นแล้วจากอาสวะทั้งหลาย ไม่ถือมั่นด้วยอุปาทาน นั่นคือ จิตหลุดพ้นจากการถือมั่น ก็เลยบรรลุ
เป็นพระอรหันต์ อันนี้คือสรุป
๒๖๒